Page 91 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 91
กำรพัฒนำเครือข่ำยกำรส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินโดยชุมชนมีส่วนร่วมเปลี่ยนเสียง
ควำมหวำดกลัวของชุมชนให้เป็นเสียงแห่งพลังและควำมหวังของครอบครัว
นางพัชรี พูลสุข และนางสุนันท์ เสียงเสนาะ
โรงพยาบาลบ้านฉาง จังหวัดระยอง เขตสุขภาพที่ 6
ั
ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญของประเทศไทย ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินมาด้วย
พฤติกรรมความรุนแรง และพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย กรมสุขภาพจิตรายงานว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นสาเหตุการตาย
ั
อนดับแรก และมีแนวโน้มสูงขึ้นในประเทศไทยทางด้านจิตเวช ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินเป็นอาการที่เกิดขึ้น
เฉียบพลันและรุนแรงจ าเป็นต้องได้รับการดูแล ช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ ที่มีความเชี่ยวชาญ เพอให้ได้รับการ
ื่
รักษาที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินที่มีพฤติกรรมรุนแรง เป็นความเสี่ยงของบุคลากรทาง
การแพทย์ที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ พฤติกรรมที่ก้าวร้าวรุนแรงก่อให้เกิด ผลกระทบด้านจิตใจ สังคม ครอบครัว
และสิ่งแวดล้อมในชุมชน สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ทั้งต่อตนเองและผู้อน สถานการณ์ในเครือข่ายจิตเวช
ื่
อ าเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ตั้งแต่ ตุลาคม 2566 - พฤษภาคม 2566 มีผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน ที่มารับการรักษา
ที่โรงพยาบาลบ้านฉาง จ านวน 10 ราย จ านวนครั้งที่มารับบริการ 16 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนไข้ รายเก่า
ที่มารับการรักษาซ้ า ผู้ป่วยที่มี OAS (Overt Aggression Scale) 1 - 2 คะแนนรับไว้รักษาที่หอผู้ป่วยจรุงจิต
จ านวน 4 ราย ผู้ป่วย OAS (Overt Aggression Scale) score 3 มีจ านวน 6 ราย ได้รับการส่งต่อ ไปรักษา
โรงพยาบาลแม่ข่าย 6 ราย
ปัญหาของโรงพยาบาลบ้านฉาง คือขาดการจัดการที่เป็นระบบ เนื่องจากผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินเข้าถึง
บริการได้น้อยกว่าโรคทางกาย เจ้าหน้าที่ในชุมชนยังขาดประสบการณ์ในการดูแลที่ครอบคลุมต่อเนื่อง นโยบาย
การดูแลที่ไม่ชัดเจน บุคลากรด้านจิตเวชไม่เพยงพอ ชุมชนยังไม่มีส่วนร่วมในการดูแล บทบาทหน้าที่ของ
ี
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในชุมชนยังไม่ชัดเจน เมื่อผู้ป่วยถูกส่งเข้ามาในโรงพยาบาล การประเมินที่ครอบคลุม
รวดเร็วยังไม่ดีพอ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ที่พบเจอผู้ป่วยไม่สามารถดูแลได้อย่างเหมาะสม ขาดประสบการณ์ในการ
ประเมิน การสื่อสาร ขาดการประสานงานที่ดี ในการส่งต่อผู้ป่วย ท าให้ผู้ป่วยบางรายที่มีความก้าวร้าว ระดับ
รุนแรงไม่ได้รับส่งต่อไปยังโรงพยาบาลแม่ข่ายหรือโรงพยาบาลจิตเวช ตลอดจนยังไม่มีการวางแผนการดูแล
ร่วมกันในเครือข่ายจิตเวช
ดังนั้นโรงพยาบาลจึงพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินที่ครบวงจร โดยชุมชนมีส่วนร่วมเริ่มจาก
การได้รับการดูแลจากครอบครัว/อาสาสมัคร เครือข่ายในชุมชน การสังเกตความเสี่ยงของผู้ป่วย ช่องทางการ
ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานใน ชุมชน เช่น ต ารวจ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น การจัดการผู้ป่วยและน าส่ง
โรงพยาบาล ในส่วนของโรงพยาบาลที่รับผู้ป่วย ประเมินคัดกรองอย่าง ครอบคลุม บ าบัดรักษาเบื้องต้น เฝ้าระวัง
ิ
ความเสี่ยง และพจารณาส่งต่อตามระบบ โดยการประสานงาน ที่มีคุณภาพ ถูกต้องทันเวลา ไปยังโรงพยาบาล
แม่ข่าย โรงพยาบาลจิตเวชบ าบัดรักษา ให้การปรึกษา และประสานงาน เพอส่งต่อผู้ป่วยกลับพนที่ เพอการ
ื่
ื่
ื้
ติดตามเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของ ชุมชนดูแลผู้ป่วยร่วมกัน มีการท างานที่สอด ประสานกันจะส่ง
ุ
ึ
ผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วย ลดอบัติการณ์ การบาดเจ็บและพฤติกรรมก้าวร้าวของผู้ป่วยลง ญาติและผู้ป่วยพงพอใจ
ึ
ต่อการให้บริการ บุคลากร ทางการพยาบาลมีความปลอดภัยและพงพอใจใน การให้บริการ ผู้บริหารให้ความส าคัญ
ในการวาง นโยบายและสนับสนุนงบประมาณในการด าเนินงาน ให้ประสบผลส าเร็จ โรงพยาบาลบ้านฉาง
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 87