Page 92 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 92

ี่
                                  ั
                                                                     ื่
                                                                                                      ิ
                  จึงมีแนวทางทจะพฒนา ระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินเพอให้เกิดผลลัพธ์ ที่ดีต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉน ญาติ
                  ชุมชน ตลอดจน องค์กรและหน่วยงาน
                  วัตถุประสงค์กำรศึกษำ

                         1. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชสามารถเข้าถึงบริการได้ง่ายได้รับการดูแลแบบองค์รวมอย่างต่อเนื่อง

                         2. แพทย์ และพยาบาล หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินมีความรู้และมีแนวทางที่ชัดเจนในการประเมิน

                  ดูแลและส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช


                         3. ครอบครัวและชุมชนมีความรู้และส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิต

                         4. มีแพทย์เฉพาะทางจิตเวชที่รับให้ค าปรึกษา และคอยติดตามอาการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง

                         5. มีระบบการส่งต่อเชื่อมโยงที่มีความชัดเจน จากครอบครัว โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลแม่ข่าย

                  ที่ครบวงจร


                  วิธีกำรศึกษำ

                           ื่
                              ั
                         เพอพฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินจากชุมชนสู่ โรงพยาบาลและการส่งต่อไปจังหวัดระยอง
                  โดยใช้กรอบแนวคิดของเดมมิ่ง (Deming Cycle) การด าเนินงาน มี 6 ขั้นตอน คือ 1) วิเคราะห์สถานการณ์
                                               ั
                  การดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน 2) พฒนาระบบการดูแลและการส่งต่อ ไปยังโรงพยาบาลจิตเวช 3) การดูแล
                  ต่อเนื่องในระบบผู้ป่วยใน 4) ระบบติดตามบ าบัดฟื้นฟูรักษายาเสพติดด้วยเครือข่ายมีส่วนร่วมในชุมชน

                         ประเมินผลลัพธ์กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรทางการพยาบาล และเครือข่ายในชุมชนที่คัดเลือก
                  และกลุ่มญาติผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินที่ส่งต่อมาจากชุมชนเข้ารับการรักษาต่อในโรงพยาบาล บ้านฉาง จ านวน
                  10 ราย ระหว่างเดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือนพฤษภาคม 2566 โดยประเมินผลด้วยแบบประเมิน ความรู้

                                                                                                     ึ
                  ทัศนคติและความเชื่อมั่น การจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงหลังการพัฒนาระบบ ประเมินความพงพอใจ /
                  ข้อร้องเรียนในชุมชน

                   ขั้นตอนที่ 1 วิเครำะห์สถำนกำรณ์กำรดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน


                         1. เก็บรวบรวมข้อมูล คืนข้อมูลกลับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คืนข้อมูลสู่ชุมชน


                                                        ื่
                         2. จัดตั้งคณะท างานในระดับอาเภอเพอเฝ้าระวังภาวะรุนแรงก้าวร้าวในกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติด
                  ระดับอ าเภอ ทบทวนรายกรณีและภาคีเครือข่ายทุภาคส่วนร่วมแก้ไขปัญหาร่วมกัน

                         3. จัดตั้งคณะท างาน PCT จิตเวชและยาเสพติดในโรงพยาบาลเพื่อพัฒนาระบบการบริการ


                         4. ร่วมพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดระดับจังหวัดระยอง

                         5. ผู้บริหารมีนโยบายและสนับสนุนการด าเนินงาน ผู้บริหารทราบปัญหาและร่วมวางแผนยุทธศาสตร์

                  สอดคล้องกับการพฒนาระบบคุณภาพบริการจิตเวช รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีนวัตกรรมในการให้บริการ
                                  ั
                  ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช สามารถตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการ ของผู้ป่วยได้อย่างยั่งยืน


                                      ั
                         6. ประชาสัมพนธ์ในชุมชนเพอทราบข้อมูลและแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชมีภาวะรุนแรงก้าวร้าว
                                                  ื่
                  และการประส่งต่อ




                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       88
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97