Page 97 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 97

ควำมกังวลและควำมเชื่อมั่นของพยำบำลวิชำชีพในกำรส่งต่อผู้ป่วยวิกฤตด้วยกำรติดตำมสัญญำณชีพบน
                                          รถพยำบำล (Tele-monitoring) จังหวัดขอนแก่น




                                                                                  นางสาววัชรา ศรีหาราชและคณะ
                                                                              โรงพยาบาลขอนแก่น เขตสุขภาพที่ 7



                  ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย

                         การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลเป็นสิ่งที่ควบคู่กันมากับระบบสาธารณสุขทั่วโลกซึ่งเป็นผล
                  เนื่องจากข้อจ ากัดของทรัพยากรหรือความเชี่ยวชาญการวินิจฉัยและรักษาที่จ าเพาะด้าน การส่งต่อผู้ป่วยนั้น

                                                                               ึ
                                                  ึ
                  ย่อมมีความเสี่ยงที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่พงประสงค์เกิดขึ้น เหตุการณ์ที่ไม่พงประสงค์รุนแรงที่ไม่สามารถตรวจ
                  พบได้ อาจส่งผลท าให้มีการเสียชีวิตหรือพการตามมา ระบบการเฝ้าติดตามสัญญาณชีพทางไกลจะสามารถ
                                                      ิ
                                                              ุ
                  แจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยภาวะคุกคามต่อชีวิต ด้วยอปกรณ์ด้วยการติดตามสัญญาณชีพบนรถพยาบาล

                  (Tele - monitoring) ส่วนการอานวยการตรงทางการแพทย์นั้นเป็นระบบที่มีจุดมุ่งหมายเพอให้ค าแนะน า
                                                                                                ื่
                  แก่พยาบาลวิชาชีพ เมื่อพบว่าเกิดปัญหากับผู้ป่วยและต้องอาศัยการตัดสินใจของแพทย์ในการแก้ปัญหาที่
                  เกิดขึ้นในขณะนั้น

                         ประเทศไทยเริ่มมีการใช้ Telemedicine ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 แต่ยังมีข้อจ ากัดทางด้านเทคโนโลยี
                  ในระยะเริ่มต้น จังหวัดขอนแก่น ได้ด าเนินงานครอบคลุมทั้งจังหวัดในชื่อโครงการ Khon Kaen TeleReferal
                  Monitoring (TeReM) ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2557  ซึ่งเป็นระบบการส่งสัญญาณชีพของผู้ป่วยที่อยู่

                  โรงพยาบาลชุมชน หรือบนรถพยาบาล โดยแสดงข้อมูลชนิดต่อเนื่องและ Real time มีการเชื่อมต่อกันด้วย
                  ระบบสัญญาณอนเตอร์เน็ต ข้อบ่งชี้การใช้ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
                                ิ
                  ชนิด STEMI ผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิตรุนแรงและมีภาวะช็อก (Severe sepsis and septic shock)

                  unstable arrhythmias และผู้ป่วยวิกฤตที่มี Emergency severity index (ESI) ระดับ 1 ต่อมาในปีงบประมาณ
                  พ.ศ. 2562 เริ่มมีการใช้ระบบอานวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction) โดยแพทย์

                                   ิ่
                                            ื่
                  เวชศาสตร์ฉุกเฉินเพมเติมขึ้นเพอให้ค าปรึกษาแก่พยาบาลวิชาชีพที่ท าหน้าที่ดูแลผู้ป่วยทั้งระยะเตรียมการก่อน
                  ส่งต่อและระยะที่อยู่บนรถพยาบาล ซึ่งเป็นวิธีปฏิบัติมาตรฐานแม้ว่าผู้ป่วยรายนั้นจะได้รับหรือไม่ได้รับการ
                  ติดอุปกรณ์ tele - monitoring ระหว่างการส่งต่อผู้ป่วย

                                                     ั
                         ก่อนหน้านี้มีการศึกษาความสัมพนธ์ของระบบติดตามสัญญาณชีพบนรถพยาบาลต่อการเสียชีวิตของ
                  ผู้ป่วยวิกฤต ภายใน 24 ชั่วโมงแรก การใช้งานระบบอานวยการตรงทางการแพทย์ ของผู้ป่วยวิกฤตที่ถูกส่ง

                  ต่อมาเพอรับการรักษาที่โรงพยาบาลขอนแก่น มีระบบการติดตามเฝ้าสังเกตผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และมีการให้
                         ื่
                  ค าแนะน าด้วยการอ านวยการตรงทางการแพทย์ จะท าให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงทีเมื่อเกิดภาวะ
                      ึ
                  ไม่พงประสงค์ขณะอยู่บนรถพยาบาล ลดอตราการเสียชีวิตหรือวันนอนรักษาในโรงพยาบาลที่ยาวนานได้ถึงแม้
                                                     ั
                  จะมีผลการศึกษาด้านลักษณะทางคลินิกแต่ยังไม่มการประเมินผลในมิติของผู้ใช้งานว่ามีทัศนคติและความมั่นใจ
                                                           ี
                  ในการปฏิบัติเพื่อการน าส่งผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลแต่อย่างไร














                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       93
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102