Page 93 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 93

ขั้นตอนที่ 2 พัฒนำระบบควำมรู้และกำรดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน

                         1. กระบวนการพัฒนาใช้การประชุมเชิงปฏิบัติการอบรมตามโปรแกรมที่ก าหนด กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่


                  แพทย์ พยาบาล และสหสาขาวิชาชีพ องค์กรปกครองระดับอาเภอ ต ารวจ เจ้าหน้าที่มูลนิธิ/จิตอาสา
                  อาสาสมัครสาธารณสุข งานป้องกันบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แกนน าชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน
                  และทีมบุคลากรผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต ยาเสพติดในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จ านวน 9 แห่ง

                         2. มีการซ้อมปฏิบัติการเหตุฉุกเฉินรุนแรง จากชุมชนสู่โรงพยาบาล หน่วยบริการภายในโรงพยาบาล
                  เช่น ห้องฉุกเฉิน หอผู้ป่วยจรุงจิต แผนกผู้ป่วยนอก (จิตเวช)
                         3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคทางจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยแก่เจ้าหน้าที่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร
                  และบุคลลากรโดยจิตแพทย์จากโรงพยาบาลระยอง
                         4. มีการด าเนินการทบทวนรายกรณี ที่มีความเสี่ยงความรุนแรงก้าวร้าวในชุมชนที่มีความเสี่ยง

                  เพื่อน าเข้าสู่ระบบในระดับอ าเภอ โดย 4 กระทรวงหลักและเครือข่ายในชุมชน
                         5. จัดท าแนวทางการดูแลผู้ป่วย การส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินจากชุมชนโดยมีช่องทางการสื่อสาร
                  หน่วยบริการทุกระดับ ก าหนดผู้รับผิดชอบประสานงานให้ชัดเจน

                         6. แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน/ขั้นตอนการปฏิบัติ
                             6.1 เมื่อมีการส่งต่อผู้ป่วยจากชุมชน เข้ามาที่โรงพยาบาล จะมีการโทรประสานงานเข้ามาที่ห้อง
                  ฉุกเฉิน เพื่อแจ้งให้แพทย์เวรทราบว่าจะก าลังมีการน าส่งผู้ป่วยจิตเวชก้าวร้าว โดยมีทีมของชุมชนและเจ้าหน้าที่
                  ท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ต ารวจและมูลนิธิน าส่ง


                                                                                             ื่
                            6.2 พยาบาลจะมีการเตรียมพนที่บริเวณโซนคัดแยกหน้าห้องฉุกเฉิน เพอรับผู้ป่วยจิตเวช
                                                       ื้
                  ท าประวัติผู้ป่วยรอเตรียมใบประเมินในการซักประวัติ ประเมิน OAS score เตรียมเจาะเลือดปฏิบัติตาม
                  standing order for acute Psychosis ระยะเวลาในการซักประวัติประเมินอาการ และเจาะเลือดผู้ป่วย
                  ไม่เกิน 30 นาที เพื่อจะได้ไม่เป็นการกระตุ้นผู้ป่วยให้รู้สึกหงุดหงิด


                               6.3 เมื่อผู้ป่วยมาถึง แพทย์ พยาบาล พร้อมทีมจะอยู่ในพนที่ซักประวัติ เพอคอยเฝ้าระวังความ
                                                                            ื้
                                                                                           ื่
                  ปลอดภัย ถ้าผู้ป่วยเกิดภาวะก้าวร้าวรุนแรง แพทย์จะท าการประเมิน OAS scale โดยใช้แบบประเมิน OAS
                  scale ตามตาราง แบบประเมินพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรง และให้การรักษาตามระดับความรุนแรง กรณีได้รับ
                  การประเมิน OAS scale =3 จะต้องส่งต่อไปพบจิตแพทย์ที่โรงพยาบาลแม่ข่าย


                         7. เปิดให้บริการหอผู้ป่วยใน (หอจรุงจิต) จ านวน 10 เตียง โดยมีระบบการดูแลผู้ป่วยและรับการ
                                                                                              ู
                  ปรึกษาจากจิตแพทย์โรงพยาบาลระยอง ระบบยาที่ครอบคลุม และการบ าบัดรักษาฟนฟ จากนักจิตวิทยา
                                                                                           ื้
                                                                                         ื่
                  พยาบาลจิตเวชและยาเสพติด นักวิชาการสุขภาพ และทีมสหสาขาวิชาชีพ เพอรับดูแลผู้ป่วยจิตเวช
                  และ        ยาเสพติด ผู้ป่วยได้รับการดูแลเมื่อเกิดภาวะรุนแรงก้าวร้าว การประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
                  พยาบาลประเมินสถานการณ์และอาการความรุนแรงจากห้องฉุกเฉิน โดยการสังเกตหรือใช้แบบประเมิน
                  พฤติกรรม รุนแรง เช่น แบบประเมิน OAS (Overt Aggression Scale) หรือแบบประเมินอื่น ๆ ตามบริบทของ
                        ื้
                  แต่ละพนที่ถ้าใช้แบบประเมิน OAS ระดับความรุนแรงก้าวร้าว 1 - 2 คะแนน รับไว้ดูแลที่โรงพยาบาลบ้านฉาง
                  โดยใช้แนวทางการดูแลผู้ป่วยใช้ standing Order Acute Psychosis/ปรึกษาจิตแพทย์จากโรงพยาบาลทุกราย
                  ก่อน  เพื่อพิจารณาให้การรักษาแบผู้ป่วยใน

                                ระดับ 1 หมายถึง ระดับกึ่งเร่งด่วน (Semi-urgency) คะแนน OAS = 1 คะแนน

                                ระดับ 2 หมายถึง ระดับเร่งด่วน (Urgency) คะแนน OAS = 2 คะแนน


                                ระดับ 3 หมายถึง ระดับฉุกเฉน (Emergency) คะแนน OAS = 3 คะแนน
                                                         ิ



                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       89
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98