Page 441 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 441
L18
ผลการศึกษา
1. ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบคะแนนระดับความรุนแรงของอาการปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบน
ก่อนและหลังเข้ารับการพอกยาดูดพิษ
ผู้ป่วยปวดกล้ามเนื้อหลัง คะแนนระดับความรุนแรงของอาการ แปลผล
ส่วนบน ปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบน
ค่าเฉลี่ย ( ̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ก่อนได้รับการพอกยาดูดพิษ 7.22 1.24 ปวดในระดับปานกลางถึงรุนแรง
หลังได้รับการพอกยาดูดพิษ 3.81 1.57 ปวดในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง
2. ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยองศาการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังระดับคอ
องศาการเคลื่อนไหวของ N ̅ S.D. T p-value
กระดูกสันหลังระดับคอ
ก้มหน้า (Flexion)
ก่อนการทดลอง 32 25.84 7.40 19.76 .000
หลังการทดลอง 32 33.44 8.09 23.39 .000
เงยหน้า (Extension)
ก่อนการทดลอง 32 33.28 10.55 17.84 .000
หลังการทดลอง 32 49.28 11.33 24.61 .000
เอียงศีรษะไปทางซ้าย (Left lateral Flexion)
ก่อนการทดลอง 32 23.59 4.86 27.43 .000
หลังการทดลอง 32 31.03 6.25 28.06 .000
เอียงศีรษะไปทางขวา (Right lateral Flexion)
ก่อนการทดลอง 32 24.53 6.33 21.91 .000
หลังการทดลอง 32 32.37 8.15 22.47 .000
*มีนัยสำคัญทางสถิติที่ ∝ = 0.05
อภิปรายผล
1. ระดับอาการปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบน ก่อนการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยอาการปวดอยู่
ในระดับปานกลางถึงรุนแรง (7.22 ± 1.24) หลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ยอาการปวดอยู่ในระดับเล็กน้อย
ถึงปานกลาง (3.81 ± 1.57) ผลการศึกษาเห็นว่าคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองระดับอาการปวดของกลุ่มตัวอย่าง
ลดลงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p-value < 0.05