Page 498 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 498
N6
ผลการศึกษา
คณะอนุกรรมการฯ มีมติในการประชุมวันที่ 26 มีนาคม 2563 ให้แพทย์บันทึกเงื่อนไขเมื่อมีการสั่งใช้
ยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยนอกโรคคอหอยอักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ และไซนัสอักเสบเฉียบพลันในโปรแกรม
ผลจากการเก็บข้อมูลผู้ป่วยนอก ช่วงวันที่ 1 เมษายน 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563 (ก่อนเริ่มใช้แบบ
บันทึกเงื่อนไข) เปรียบเทียบกับช่วงวันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 มีนาคม 2566 (หลังเริ่มใช้แบบบันทึก)
แสดงในตารางด้านล่าง
ก่อนใช้แบบ หลังใช้แบบบันทึก
บันทึก
1 เมษายน 1 เมษายน 1 เมษายน 1 เมษายน
ข้อมูล
2562 – 2563 – 2564 – 2565 –
31 มีนาคม 31 มีนาคม 31 มีนาคม 31 มีนาคม
2563 2564 2565 2566
โรคคอหอยอักเสบ และต่อมทอนซิลอักเสบ
(A) จำนวน visit ที่แพทย์สั่งใช้ยาต้านจุลชีพ 10,770 4,218 3,514 3,753
(B) จำนวน visit ทั้งหมด 59,520 24,343 35,758 42,059
(C) ร้อยละของ visit ที่แพทย์สั่งใช้ยาต้านจุลชีพต่อ visit 18.09 17.33 9.83 8.92
ทั้งหมด [A ÷ B x 100] 1,013,500.7 418,561.00 338,561.50 398,355.75
(D) มูลค่ายาต้านจุลชีพที่สั่งใช้ทั้งหมด (บาท) 5 17.19 9.47 9.47
(E) มูลค่ายาต้านจุลชีพที่สั่งใช้เฉลี่ยต่อ visit [D ÷ B] 17.03
โรคไซนัสอักเสบเฉียบพลัน 349 226 442
(F) จำนวน visit ที่แพทย์สั่งใช้ยาต้านจุลชีพ 766 452 323 606
(G) จำนวน visit ทั้งหมด 941 77.21 69.97 72.94
(H) ร้อยละของ visit ที่แพทย์สั่งใช้ยาต้านจุลชีพต่อ visit 81.40 76,905.25 45,081.50 90,846.00
ทั้งหมด [F ÷ G x 100] 155,974.75 170.14 139.57 149.91
(I) มูลค่ายาต้านจุลชีพที่สั่งใช้ทั้งหมด (บาท) 165.75
(J) มูลค่ายาต้านจุลชีพที่สั่งใช้เฉลี่ยต่อ visit [I ÷ G]
ผลการศึกษาพบว่าหลังจากใช้แบบบันทึกเงื่อนไข ทั้งโรคคอหอยอักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ และไซนัส
อักเสบเฉียบพลันมีแนวโน้มร้อยละของ visit ที่สั่งใช้ยาต้านจุลชีพต่อ visit ทั้งหมด (C, H) และมูลค่าการสั่งใช้
ยาต้านจุลชีพเฉลี่ยต่อ visit (E, J) ลดลง