Page 128 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 128
C3
ข้อมูลทั่วไป จำนวน(คน) ร้อยละ
ระดับการศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 2 15.38
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า 6 46.16
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่าและจบการพยาบาลเฉพาะทาง 5 38.46
ประสบการณ์ทำงาน(1-23 ปี เฉลี่ย 6.92 ปี S.D. =5.63 )
น้อยกว่า 5 ปี 5 38.46
5-10 ปี 7 53.85
มากกว่า 10 ปี 1 7.69
การอบรมเวชปฏิบัติฉุกเฉิน
ผ่านการอบรม 4 30.77
ไม่ผ่านการอบรม 9 69.23
ส่วนที่ 2 ความถูกต้องของการคัดแยกผู้ป่วย
ตารางที่ 2 แสดงจำนวนและร้อยละของความตรงกันของผลการคัดแยกระดับความรุนแรงฉุกเฉินผู้ป่วย
ของผู้คัดแยกผู้ป่วยของผู้ศึกษา กลุ่มก่อนและระหว่างมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในการใช้ดัชนี
ความรุนแรงฉุกเฉินสำหรับการคัดแยกผู้ป่วย
ความตรงกันของผลการคัดแยก กลุ่มก่อนการพัฒนาคุณภาพ กลุ่มหลังการพัฒนาคุณภาพอย่าง
ระดับความรุนแรงฉุกเฉินผู้ป่วย อย่างต่อเนื่อง (n = 520 ) ต่อเนื่อง ( n = 520 )
จำนวน(ราย) ร้อยละ จำนวน(ราย) ร้อยละ
คัดแยกถูกต้อง 349 67.12 434 83.46
คัดแยกไม่ถูกต้อง 156 32.88 86 16.54
ต่ำกว่าสภาพความรุนแรงที่เป็นจริง 92 17.69 51 9.81
สูงกว่าสภาพความรุนแรงที่เป็นจริง 79 15.19 35 6.73
2. การศึกษาจำนวนผู้ป่วยแต่ละระดับที่ได้รับการคัดแยกตามระดับความรุนแรงฉุกเฉินของผู้ป่วยที่ได้
เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหรือส่งต่อ กลุ่มก่อนและระหว่างมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในการใช้
ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉินสำหรับการคัดแยกผู้ป่วย
ตารางที่ 3 จำนวนและร้อยละ ของผู้ป่วยแต่ละระดับที่ได้เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหรือส่งต่อกลุ่มก่อน
และระหว่างมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในการ ใช้ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉินสำหรับการคัดแยกผู้ป่วย
ระดับความ กลุ่มก่อนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง กลุ่มหลังการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
รุนแรง จำนวน จำนวน จำนวน จำนวนผู้ป่วย จำนวน จำนวน
ฉุกเฉิน ผู้ป่วย ผู้ป่วยที่รับ ผู้ป่วยที่รับ ทั้งหมด ผู้ป่วยที่รับ ผู้ป่วยที่รับ
ผู้ป่วย ทั้งหมด การรักษา การ ส่งต่อ การรักษาใน การ ส่งต่อ
ใน โรงพยาบาล
โรงพยาบาล
ฉุกเฉินวิกฤต 22 9 13 19 9 10