Page 269 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 269

F27


                  หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Severe Pre-eclampsia , มีใบ Monitor เพื่อเฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากการให้ยา

                  MgSO4 , มีวิธีการบริหารยาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน , มีใบ Severe PIH check list เพื่อตรวจสอบว่าได้ปฏิบัติ

                  ครบถ้วนตามแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Severe Pre-eclampsia หรือไม่, มีใบรายงานการเช็ค
                  อุปกรณ์ PIH BOX เพื่อเช็คและเติมอุปกรณ์ให้ครบหลังมีการเปิดใช้กล่อง

                         Check: เก็บข้อมูลติดตามผลการนำไปใช้ โดยตรวจสอบจากเหตุการณ์ในเวรที่มีการบริหารยา รวมถึง
                  ประเมินผล ความพึงพอใจ อุบัติการณ์ และปัญหาอุปสรรค
                         Act: นำข้อมูลที่ได้มาประชุมปรึกษาเพื่อปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาต่อยอด ขยายผลต่อไป

                  ตัวชี้วัด

                         1. ระยะเวลาในการเตรียมยา < 20 นาที
                         2. อุบัติการณ์บริหารยาผิดพลาด 0 %

                         3. ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ในการนำนวัตกรรมมาใช้ > 85%

                  ระยะเวลาการดำเนินงาน : ปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 – มีนาคม 2567)

                  ผลการศึกษา
                                                                       ก่อนการพัฒนา             หลังการพัฒนา

                                ตัวชี้วัด               เป้าหมาย      2564      2565        2566          2567
                                                                                                     (ต.ค 66- มี.ค.67)
                  1.ระยะเวลาเตรียมยา                    < 20 นาที    30 นาที   25 นาที     10 นาที       10 นาที

                  2.อุบัติการณ์บริหารยาผิดพลาด            0 %         0 %        0 %        0 %           0 %
                  3.ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ในการนำ     > 85 %        NA        NA         97 %          95 %
                  นวัตกรรมมาใช้

                  4.อุบัติการณ์การเกิดภาวะชัก              0%          NA        NA         0 %           0 %

                  อภิปรายผล
                         ผลการศึกษาพบว่าเมื่อนำ PIH  Box มาใช้พบว่าระยะเวลาในการบริหารยามีแนวโน้มลดลง โดยใช้

                  เวลา 10-15 นาที พยาบาลผู้ใช้นวัตกรรมดังกล่าวมีความพึงพอใจอยู่ที่ร้อยละ  97% ตามลำดับ และไม่พบ
                  อุบัติการณ์ในการบริหารยาผิดพลาด ซึ่งทำให้ผู้ป่วยได้รับยาทันเวลาไม่เกิดภาวะชักหรือภาวะแทรกซ้อน

                  จาก ภาวะ Severe Pre-eclampsia


                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                         นำนวัตกรรม “PIH BOX บริหารยารวดเร็ว ปลอดภัย” ไปใช้ในหน่วยงานอื่น เช่น ตึกอุบัติเหตุฉุกเฉิน

                  เอกสารอ้างอิง
                  สุชาดา เตชวาทกุล, เอมอร รตินธร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ และดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2557). ปัจจัยเสี่ยงที่

                  มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์. วารสารพยาบาลศาสตร์,32(1),61-70.
                  วิบูลพรรณ ฐิตะดิลก, และ มนศักดิ์ ชูโชติรส. (2551). ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์.
                  ใน เยื้อน ตันนิรันดร. และ วรพงศ์ ภู่พงศ์ (บรรณาธิการ), เวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์.(พิมพ์ครั้งที่ 2 ).
                  กรุงเทพฯ : ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย.
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274