Page 272 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 272
F30
8.1 ทบทวนความรู้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเกี่ยวกับการบริหารยาใน PPH Med Box
8.2 เปลี่ยนกล่อง PPH Med Box ให้มีขนาดเล็กลงเพื่อให้ประหยัดพื้นที่ในตู้เย็น
ค่าใช้จ่าย 1. กล่อง ราคา 20 บาท 2. แผ่นโฟมรับจากห้อง Lab 3. กระดาษสี, กาวสองหน้า, แผ่นเคลือบใส
เบิกจากโรงพยาบาล รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด 20 บาท/กล่อง
ตัวชี้วัด
1. ระยะเวลาในการเตรียมยา < 5 นาที
2. อุบัติการณ์บริหารยาผิดพลาด 0 %
3. อัตรามารดาเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด < 5 %
4. เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจในนวัตกรรม>85%
การทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรม
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ตัวชี้วัด (ร้อยละ)
2563 2564 2565 2566
ใช้ PPH ใช้ PPH
Med Box Med Box
1.ระยะเวลาเตรียมยา < 5 นาที 10 นาที 10 นาที 4 นาที 3-4 นาที
2.อุบัติการณ์บริหารยาผิดพลาด 0 % 0 % 0 % 0 % 0 %
3.อัตรามารดาตกเลือดหลังคลอด < 5 % 2.20 % 2.70 % 2.20 % 3.34%
4.เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจใน > 85 % NA NA 90 % 96 %
นวัตกรรม
อภิปรายผล
ผลการศึกษาพบว่า เมื่อนำ PPH Med Box มาใช้ระยะเวลาในการเตรียมยาลดลงจาก 10 นาทีเหลือ
3-4 นาที อุบัติการณ์บริหารยาผิดพลาด 0% อัตรามารดาตกเลือดหลังคลอดปี 2566 ได้ 3.34 %และเจ้าหน้าที่
มีความพึงพอใจในนวัตกรรม 96 %
สรุปและข้อเสนอแนะ เมื่อนำ PPH Med Box มาใช้พบว่าอัตราการตกเลือดหลังคลอดไม่เกินเป้าหมาย
สามารถลดระยะเวลาในการเตรียมยาได้ ไม่พบอุบัติการณ์การบริหารยาผิดพลาด
ข้อเสนอแนะ นำ PPH Med Box ไปไว้ใช้ที่ห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน ของโรงพยาบาล เมื่อมีมารดาหลังคลอด
ตกเลือดมาจะได้สะดวกในการใช้งาน