Page 351 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 351

I11


                  Access flow (ml/min)


                   3000
                                                               Access flow 600 ml/min
                   2500
                   2000
                   1500
                   1000                                                                            Pt.
                    500
                      0
                         Pt. 1 Pt. 2 Pt. 3 Pt. 4 Pt. 5 Pt. 6 Pt. 7 Pt. 8 Pt. 9 Pt. 10Pt. 11Pt. 12Pt. 13Pt. 14Pt. 15Pt. 16
                                                 เดือนเมษายน  เดือนกรกฎาคม

                  จากกราฟแสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยได้รับการประเมิน Access flow ทั้งหมด 16 ราย มีผู้ป่วยจำนวน 4 ราย ที่ค่า
                  Access flow<600 ml/min คือผู้ป่วยรายที่ 3, 10, 11 และ 16 มีการให้การพยาบาลดังนี้

                         รายที่ 3 ส่งแก้ไขเส้น ได้รับการทำ balloon angioplasty ประเมินหลังแก้ไข Access flow<600
                  ml/min เฝ้าระวังต่อทุก 1 เดือน
                         รายที่ 10 มีภาวะ AVF Stenosis ส่งแก้ไขเส้น ได้รับการ remove clot ประเมินหลังแก้ไข Access

                  flow>600 ml/min
                         รายที่ 11 ปฏิเสธการติดตามการรักษา ด้วยปัญหาเศรษฐานะ ทำให้ Vascular failure ในอีก 2 เดือน
                  ต่อมา ได้รับการทำ Catheter แทน

                         รายที่ 16 ผู้ป่วยใช้ AVF รายใหม่ เฝ้าระวังทุก 3 เดือน ได้รับการประเมิน 1 ครั้ง ย้ายกลับไปรักษา
                  โรงพยาบาลใกล้บ้าน
                         สรุปมีผู้ป่วย 1 ราย Vascular failure คิดเป็น 6.25% ของผู้ป่วยที่ใช้เส้น AVF

                  อภิปรายผลการวิจัย

                           ปัญหาหรือความท้าทาย                        วิธีการจัดการกับความท้าทาย
                   1. เครื่องมีจำนวนจำกัด ไม่สามารถทำ    จัดแบ่งรอบผู้ป่วยให้หมุนเวียนใช้เครื่องที่สามารถวัดได้ให้ครบ

                   พร้อมกัน                              ภายใน 1 สัปดาห์
                   2. เครื่อง Alarm ทำให้ค่า clearance ไม่  ดูแลน้ำยาให้เพียงพอ/จัดท่า/ตำแหน่งการแทงเส้น/
                   คงที่/ลืมเวลาจดบันทึกค่า clearance    มอบหมายการวัดเส้นรายบุคคล และไม่มีผู้ป่วยหนัก

                   3. สูตรมีความซับซ้อน                  ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการคำนวณเพื่อให้เกิด
                                                         ความแม่นยำ


                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                         การวัด Access flow โดยใช้เครื่องไตเทียม รุ่น OCM มีข้อจำกัดคือสามารถวัดได้เพียงเส้น AVF ทำให้
                  ผู้ป่วยที่ใช้เส้น AVG และ Catheter ไม่สามารถได้รับการประเมิน ต้องใช้การตรวจวัดแบบอื่นๆร่วมด้วย สิ่งที่จะ
                  ทำต่อไปคือ การตรวจวัด Access flow อย่างสม่ำเสมอในผู้ป่วยที่ใช้ AVF ทุก 3 เดือน และติดตามในรายที่มี

                  ปัญหา และนำการประเมินเส้นแบบอื่นๆมาร่วมใช้ด้วย
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356