Page 382 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 382

I42

                                       AKI-Dialysis alert system in  Satun hospital



                                                                                   นายแพทย์จักรพงษ์ เทศพิทักษ์
                                                                      โรงพยาบาลสตูล จังหวัดสตูล เขตสุขภาพที่  12

                                                                                               ประเภท วิชาการ

                  ความสำคัญของปัญหาวิจัย
                           ความชุกของภาวะไตวายเรื้อรังในปัจจุบัน มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ภาวะไตวายวายเฉียบพลัน พบได้

                  บ่อย โดยเฉพาะคนไข้ในภาวะวิกฤติโดยสัมพันธ์กับอัตราการนอนโรงพยาบาลที่นานขึ้น อัตราการเสียชีวิตที่
                  สูงขึ้น และทำให้ให้เกิดภาวะไตวายเรื้อรังตามมามากขึ้น  ก่อให้เกิดสูญเสียทรัพยากรและค่าใช้จ่ายในการดูแล
                  รักษาจำนวนมาก โดยพบว่าโรงพยาบาลสตูลมีการฟอกเลือดภาวะไตวายเฉียบพลันถึง 142 ครั้งต่อปี ( 2564 )
                  ซึ่งเป็นอัตราที่สูง เมื่อเทียบกับขนาดของโรงพยาบาล

                  วัตถุประสงค์การศึกษา

                           1. ลดอัตราการเกิดภาวะไตวายเรื้องรัง( dialysis dependent)ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
                           2. ลดจำนวนครั้งของการฟอกเลือดที่ไม่จำเป็นลง ( dialysis sessions )

                  วิธีการศึกษา
                           Population : ผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย-หญิง, ICU, SEMI- ICU
                  ที่เข้าเกณฑ์การเกิดภาวะ AKI ตามเกณฑ์การวินิจฉัยจาก KDIGO 2012 เป็นแบบDesign : Prospective

                  cohort studyIntervention  :โดยการใช้ Multidisplinary team มาช่วยในการดูแลคนไข้ จากเดิมที่ไม่เคยมี
                  Outcome : ดูภาวะ dialysis dependent ( renal recovery) ในช่วงระยะเวลา 3 เดือน ดูจำนวนครั้งที่
                  เหมาะสมของการฟอกเลือด (dialysis sessions)
































                                                                                         I42
   377   378   379   380   381   382   383   384   385   386   387