Page 378 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 378

I38


                              1.ประชุม ทบทวนระบบการให้บริการและวิเคราะห์หาสาเหตุ พบมีความแออัด รอนานและ

                  การจัดการความรู้ไม่ชัดเจน ผู้ป่วยสูงอายุขาดนัด
                              2. พัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยดังนี้ (เปรียบเทียบการให้บริการแบบเดิมและแบบใหม่)
                                  การให้บริการแบบเดิม                                 การให้บริการแบบใหม่

                   -ให้บริการที่NCD                             -DM2,HT+CKD stage5และCKD stage5ให้บริการ
                   clinic,OPD(DM2,HT+CKDstage5                  ที่
                   ให้บริการที่NCD clinic,CKD stage5ให้บริการ CAPD clinic
                   ที่OPD

                   -แพทย์ให้บริการที่NCD clinicและOPDร่วมกับ –แพทย์จากNCD clinicมาให้บริการที่CAPD clinic
                   ผู้ป่วย
                   DM,HTstage1-4และผู้ป่วยทั่วไป

                   -ได้รับการประเมินRRTจากPD nurseในCKD4-5      -ได้รับการประเมินRRTและกระตุ้นRRTทุกvisitจาก
                   -ส่งพบทีมสหวิชาชีพเพื่อรับความรู้            PD nurseจัดการรายกรณี กระบวนการPLรายบุคคล

                                                                รายกลุ่มโดยPD nurseและทีมสหวิชาชีพ
                   -กรณีปฏิเสธRRTส่งปรึกษาทีมPalliative care    -พยาบาลPalliative care เข้ามาดูแลในคลินิก
                   -ไม่ได้แยกโซนขณะให้บริการ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเอง   -เป็นสัดส่วน แบ่งโซนชัดเจน

                  ขั้นตอนระยะที่ 2
                           1. ปฏิบัติตามแผนโดยให้รับบริการที่CAPD clinic 20คน/วัน โดยมีPD nurse,PC nurse
                  และทีมสหวิชาชีพร่วมดูแล
                           2. case manager ประเมินข้อมูลผู้ป่วยล่วงหน้าทางระบบ PRISS (Previsiting data analytic

                  service system) เพื่อวางแผนการรักษา ประเมินและกระตุ้นRRTทุกvisit จัดการรายกรณี รายบุคคล รายกลุ่ม
                  ตรวจเยี่ยมอาการทุก1ชั่วโมง ใช้แบบคัดกรองกรณีพบอาการเปลี่ยนแปลง
                           3. กรณีที่ผู้ป่วยไม่ได้มารับบริการที่คลินิก ให้ญาติหรือผู้ดูแลวัดสัญญาณชีพและเจาะเลือดที่สถานีสุขภาพ
                  พร้อมสมุดประจำตัว มารับบริการที่คลินิกและแพทย์ตรวจผู้ป่วยโดยใช้ระบบ Telemed  เพื่อประเมินอาการผู้ป่วย

                  ระยะที่ 3  ประเมินผลการศึกษา
                  ผลการศึกษา
                           ลดแออัดจาก120คนเป็น20ค น  ลดระยะเวลารอคอยจาก6ชม.เป็น3.5ชม.ผลการทำงาน
                  ของไตดีขี้น ภาพรวม 80% ดังนี้ off CAPD 2 ราย เปลี่ยนเป็น CKD stage 3 : 1 ราย stage 4 : 30 ราย :

                  รวม 18% ผลการทำงานของไต egfr คงที่ 49 ราย คิดเป็น 27% ผลการทำงานของไตลดลง < 5ml/min/
                  1.73m2/yr 64 รายคิดเป็น 35 % ทำให้ประหยัดค่ารักษาพยาบาลกรณี CAPD 23,800,000 บาท (700,000
                  บาท/คน/ปี *34) กรณี HD 47,600,000 บาท (1,400,000 บาท/คน/ปี *34), ผู้ป่วยที่ตัดสินใจเลือก RRT

                  เพิ่มขึ้นจากเดิม 64 รายคิดเป็น 35 % ได้รับการส่งตัวพบ Nephro 100 % ผู้ป่วยและญาติพึงพอใจ 88%
                  มีการจัดอบรมครูข PLเพื่อดูแลCKD stage1,2และ3A ในPCCที่ร่วมดูแลเพื่อต่อยอดงานวิจัยปีต่อไป
                  การมารับบริการเน้นให้มีญาติมาด้วยทุกครั้งเพื่อทำ Advance care plan for good death ให้ครบ 100%
                  โดยมีPC nurseร่วมดูแลในคลินิกเพื่อSymptom managementและHome care system การเริ่มใช้
                  Telemed ในคลินิกNCD ปี2566 มี 66 รายและเริ่มใช้ในคลินิก CKD ปี 2567 8ราย
   373   374   375   376   377   378   379   380   381   382   383