Page 620 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 620

O34


                  โปรแกรมการฝึก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
                  กลุ่มที่ 1 ได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมการฝึกแบบมาตรฐาน  ที่ประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้:
                  1) ฝึกท่า Bridging exercise:  30 ครั้งต่อเซต 2 เซต 2) ฝึกท่า sit to standing: 10 ครั้งต่อเซต 2 เซต 3) ฝึก

                  balance training ท่านั่งและยืน: เป็นเวลา10 นาที 4) ฝึกท่ายืนย่อยืด: 10 ครั้งต่อเซต 2 เซต
                  กลุ่มที่ 2 ฝึกด้วย BTW   ฝึก 8 ท่า
                  ท่านั่ง 4 ท่า คือ กางขา-หุบขา,งอสะโพกและงอเข่า,งอสะโพกและเหยีอดเข่าและกระดกเท้า
                  ท่ายืน 4 ท่า คือ หุบ-กางขา,งอสะโพกและงอเข่า,งอสะโพกและเหยีอดเข่า,เหยียดสะโพก
                  บริหารท่าละ 30 ครั้ง/เซต 3 เซตต่อวัน แบ่งเป็นผู้ป่วยมองขาที่แตะไปที่กระดิ่ง มองข้างหน้า และหลับตา

                  บริหารท่าละ 10 ครั้ง
                  โดยทั้งสองกลุ่ม จะได้รับการฝึกเดินในทางราบและ เดินขึ้นลงบันไดเป็นเวลา 20 นาทีเหมือนกัน

                  ผลการศึกษา
                         ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม มีความเปลี่ยนแปลงคะแนนการทรงตัวและตัวแปรการเดินทุกรายการ หลังการฝึกที่ดี

                  ขึ้นกว่าก่อนรับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ค่า p <0.05  อย่างไรก็ตาม ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบความพึง
                  พอใจระหว่างกลุ่ม พบว่าผู้ป่วยกลุ่ม BTW มีความพึงพอใจมากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ค่า p <0.05

                  อภิปรายผล พบว่าทั้งสองกลุ่มพบว่าการฝึกด้วยโปรแกรมการฝึก BTW และ standard PT program ช่วยเพิ่ม
                  ระดับความสามารถในการทรงตัวและการเดินได้เท่ากัน โดยมีนักกายภาพบำบัดที่มีความชำนาญและ
                  ประสบการณ์มากกว่าสิบปีดูแลการฝึกในทั้งสองกลุ่มเท่ากัน แต่ในการใช้ BTW ผู้ป่วยแสดงความพึงพอใจ

                  มากกว่า มีประโยชน์ต่อท่านและประชาชนผู้รับบริการ สามารถใช้ได้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย รูปแบบง่าย และ
                  มีความเรียบง่าย การใช้ BTW ยังส่งผลให้การฝึกมีหลายทิศทางการฝึก และการให้ feedback ที่เป็น
                  multimodality ทำให้การฝึกเป็นไปอย่างแม่นยำและมีการเคลื่อนไหวมากขึ้น ทั้งนี้เป็นการส่งเสริมการฟื้นฟูที่

                  สมบูรณ์แบบมากขึ้นตามหลักของการสร้างเสริมทักษะ ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยมีความพึงพอใจและฟื้นฟูได้เร็วขึ้นใน
                  การทรงตัวและการเดิน

                  สรุปและข้อเสนอแนะ โปรแกรม BTW สามารถเพิ่มระดับการทรงตัวและการเดิน ได้เทียบเท่ากับการทำ
                  Stand PT Program ตามแนวปฏิบัติ  แต่ผู้ป่วยมีความพึงพอใจโปรแกรม BTW มากกว่า แต่ด้วยเป็นการศึกษา
                  นำร่องควรทำการวิจัยเพิ่มเติมในกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่ขึ้น และควรศึกษาผลระยะยาวของ BTW

                  ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลการตรวจประเมิน BBS
                                            กลุ่ม standard PT program       กลุ่ม balance training
                                                     (n = 12)                      walker             Between
                                                                                  (n = 12)
                ประเมิน                                         Within                                  group
                Berg balance score                              group                        Within    p-value
                (BBS)                                                                        group        b
                                            mean       SD         p-     mean        SD        p-

                                                                value                              a
                                                                  a                         value
                1. Sitting to       ก่อน     3.25      0.45     0.003     3.25      0.62      0.005     0.317
                standing            หลัง     4.00      0.00               3.91      0.28

                2. Standing         ก่อน     3.16      0.57     0.004     2.91      1.08      0.007     0.317
                unsupported         หลัง     4.00      0.00               3.66      1.15
   615   616   617   618   619   620   621   622   623   624   625