Page 16 - แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี
P. 16
9 แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ส าหรับแพทยเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2567
์
1.2 ผู้ที่มีตับแข็งในกลุ่มที่เป็น Compensated cirrhosis
1.2.1 แนะน้าตรวจติดตามอาการและตรวจ ALT, Creatinineทุก 3-6 เดือน หากพบว่า
ALT มากกว่า 1.5 เท่าของค่าปกติ พิจารณาส่ง HBV viral load เพิ่มเติม
ั
1.2.1.1 หากตรวจพบปริมาณไวรัสตับอกเสบบี (Detected HBV viral load)
พิจารณารักษาไวรัสตับอักเสบบีตามข้อบ่งชี
ั
1.2.1.2 หากตรวจไม่พบปริมาณไวรัสตับอกเสบบี (Undetected HBV viral load)
พิจารณาหาสาเหตุอื่นที่ท้าให้ ALT สูงขึ น และติดตามการรักษา
ิ
1.2.2 หากมีการด้าเนินโรคเข้าสู่ภาวะ Decompensated cirrhosis พจารณาเริ่มการ
รักษาไวรัสตับอักเสบบีและส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ื่
1.2.3 พิจารณาส่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพอท้าการตรวจคัดกรองเส้นเลือดขอดหลอดอาหาร
(Esophageal varices surveillance) ในผู้ป่วยตับแข็งและมีข้อบ่งชี ข้อใดข้อ
หนึ่ง ดังต่อไปนี
9
1.2.3.1 Platelet น้อยกว่า 150 x10 /L หรือ
1.2.3.2 Transient elastography มากกว่า 20 kPa
2) กรณีมีข้อบ่งชี้ในการรักษา (หลังเริ่มการรักษาไวรัสตับอักเสบบี)
2.1 ควรประเมินการรับประทานยาอย่างสม่้าเสมอเป็นระยะ เนื่องจากการรับประทานยา
ไม่สม่้าเสมอหรือหยุดยาเอง อาจท้าให้เกิดการก้าเริบของโรคไวรัสตับอกเสบบี (Hepatitis B
ั
flare) หรือเกิดการดื อต่อยาต้านไวรัสได้
2.2 กรณีผู้ป่วยไม่มีตับแข็ง
2.2.1 แนะน้าตรวจติดตามอาการและตรวจ ALT, Creatinine ทุก 3-6 เดือน
หากพบว่า ALT มากกว่า 1.5 เท่าของค่าปกติ พิจารณาประเมินการรับประทาน
ยาของผู้ป่วยและส่ง HBV viral load เพิ่มเติม
ั
2.2.1.1 หากตรวจพบปริมาณไวรัสตับอกเสบบีในผู้ป่วยที่รับประทาน
ยาไม่สม่้าเสมอ แนะน้าให้ผู้ป่วยรับประทานยาเดิมอย่าง
เคร่งครัดและติดตามอาการและผลเลือดอย่างใกล้ชิด
ั
2.2.1.2 หากตรวจพบปริมาณไวรัสตับอกเสบบีในผู้ป่วยที่รับประทาน
ยาสม่้าเสมอแนะน้าให้ส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
2.2.1.3 หากตรวจไม่พบปริมาณไวรัสตักเสบบี พจารณาหาสาเหตุอื่นที่
ิ
ื่
ท้าให้ ALT สูงขึ น เช่น ประวัติการรับประทานยาอน ๆ หรือ
สมุนไพร เป็นต้น