Page 27 - แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี
P. 27
20 แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ส าหรับแพทยเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2567
์
์
แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ส าหรับแพทยเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2567
บทที่ 6 รูปแบบการจัดบริการวินิจฉัยรักษา
ผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการรักษา
1. เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายตรวจคัดกรอง สามารถด้าเนินการร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีความพร้อม
ในการสนับสนุนการคัดกรองและดูแลรักษา หรือบูรณาการร่วมกับคลินิก NCD หรือคลินิก hepatitis หรือ
การตรวจสุขภาพประจ้าปีของโรงงาน
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบลหรือหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit; PCU) เจาะเลือด
ตรวจหา HBsAg กรณีผลเป็นลบ แนะน้าตรวจภูมิคุ้มกัน Anti-HBs ที่โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลทั่วไป
ุ้
่
หากตรวจไมพบภูมิคมกันแนะน้ารับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
ื่
3. กรณีผล HBsAg เป็นบวก ส่งต่อโรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลทั่วไปเพอเข้ากระบวนการตรวจ
ประเมินผู้ป่วย และแนะน้าบุคคลในครอบครัวที่มีความเสี่ยงในการติดเชื อมาตรวจคัดกรอง
4. หากผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี ในการส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบทางเดินอาหาร แต่มีข้อบ่งชี ในการ
รักษา โรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลทั่วไปสามารถเริ่มรักษาด้วยยา Tenofovir alafenamide (TAF) โดย
แพทย์ที่ได้รับการอบรม
5. หากผู้ป่วยมีข้อบ่งชี ในการส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบบทางเดินอาหารและมีข้อบ่งชี ในการ
ิ
รักษาสามารถเริ่มรักษาด้วยยา Tenofovir alafenamide (TAF) ร่วมกับรักษาตามอาการ พจารณาส่งต่อ
โรงพยาบาลแม่ข่าย
6. หากผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี ในการรักษา นัดตรวจติดตามอาการต่อเนื่องที่โรงพยาบาลชุมชน หรือ
โรงพยาบาลทั่วไป
ื่
7. โรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลทั่วไป ดูแลภาวะแทรกซ้อนอน ๆ ระหว่างการรักษาและตรวจ
ติดตามอาการต่อเนื่อง
8. ผู้ป่วยกลับสู่ชุมชน