Page 22 - แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี
P. 22
15 แนวทางการตรวจคัดกรองและรักษาโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ส าหรับแพทยเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2567
์
ั
การประเมินผู้ป่วยไวรัสตับอกเสบซีเรื อรัง เป็นการประเมินอาการ ระยะของโรค และความพร้อมของ
ผู้ป่วย เพื่อช่วยในการวางแผนการรักษา สิ่งที่ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินก่อนการรักษาไวรัสตับอักเสบซี ได้แก ่
ั
1. การซักประวติและตรวจร่างกาย เช่น โรคประจ้าตัว ยาที่ใช้ประจ้า ประวัติการตั งครรภ์และประวัติ
การคุมก้าเนิด ประวัติการใช้ยาเสพติดชนิดฉีด การมีเพศสัมพนธ์อาการแสดงของโรคตับแข็งเรื อรัง
ั
(Signs of chronic liver disease) เช่น Palmar erythema, Spider nevi เป็นต้น รวมถึงภาวะที่
บ่งบอกว่าผู้ป่วยมีภาวะ Decompensated cirrhosis เช่น ตัวตาเหลือง (Jaundice; Total bilirubin
> 2 mg/dL)น ้าในช่องท้อง (Ascites) รวมถึงการมีอาการทางสมองจากโรคตับ (Hepatic
encephalopathy) เป็นต้น
2. ประเมินความรุนแรงของโรคตับโดยใช้ผลตรวจทางหองปฏิบัติการ
้
การประเมินพังผืดในตับ โดยการตรวจ Non-invasive fibrosis marker เช่นการตรวจ
APRI (AST to Platelet Ratio Index)หรือ FIB-4 (Fibrosis-4) เพื่อประเมิน fibrosis
stage
APRI (AST to Platelet Ratio Index)
ค้านวณ
แปลผล APRI > 1.5 หมายถึง Cirrhosis
APRI 0.5-1.5 หมายถึง Significant fibrosis
APRI < 0.5 หมายถึง Rule out Significant fibrosis
FIB-4 (Fibrosis-4)
ค้านวณ
แปลผล FIB-4>3.25 หมายถึง Cirrhosis
FIB-41.45-3.25 หมายถึง Significant fibrosis
FIB-4<1.45 หมายถึง Rule out Significant fibrosis
* ระวังการใช้ FIB-4 ในผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 35 ปี และมากกว่า 65 ปี เนื่องจากมีความ
แม่นย้าในการวินิจฉัยลดลง
3. ประเมินการติดเชื้อร่วมอื่น ๆ เช่น การติดเชื อเอชไอวีหรือ ไวรัสตับอักเสบบี ในผู้ที่มีประวัติเสี่ยง
เช่น ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด ผู้ที่มีเพศสัมพันธ์เสี่ยง หรือผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย
หมายเหตุ กรณีที่พบการติดเชื่อร่วม
กรณีพบการติดเชื้อเอชไอวร่วมด้วยควรตรวจหาโรคติดเชื อฉวยโอกาส
ี