Page 101 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 101
หมำยเหตุ: การแปลตามเกณฑ์ ordinal ในการพิจารณาระดับความเชื่อมั่น
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง มากที่สุด ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด
ตำรำงที่ 3 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรู้สึกของพยาบาลวิชาชีพ ระหว่างการส่งต่อผู้ป่วยที่ไม่ได้ใช้
และมีการใช้ Tele-monitoring (N = 236)
ค่ำเฉลี่ย (Mean±SD)
ทัศนคติของพยำบำลวิชำชีพต่อกำรส่งต่อผู้ป่วยวิกฤต
ระหว่ำงโรงพยำบำล ไม่ได้ใช้ Tele- ใช้ Tele- p-value
monitoring monitoring
1. ระดับของความกังวลใจเมื่อได้ปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยวิกฤต 3.96±0.837 3.17±0.886 <0.001*
2. ระดับความมั่นใจในการดูแลเมื่อปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยวิกฤต 3.25±0.997 3.75±0.731 <0.001*
อภิปรำยผล
ื่
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาทัศนคติของพยาบาลผู้ท าหน้าที่ส่งต่อว่ามีความมั่นใจในการดูแล
ื่
และแก้ไขปัญหาเพอเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ป่วยมีอาการทรุดลง ไม่ได้มุ่งประเด็นว่ามีอบัติการณ์ Adverse event
ุ
ที่เกิดขึ้น เนื่องจากมีหลายการศึกษาที่ได้ท ามาก่อนหน้านี้แล้ว ที่ประเทศแคนาดา เมื่อ ค.ศ. 2014
ุ
ั
มีอบัติการณ์ของ Critical event เกิดขึ้นในขณะที่มีการส่งต่อผู้ป่วยด้วยรถพยาบาล ร้อยละ 6.5 และสัมพนธ์
2
กับ mechanical ventilation, hemodynamic instability และระยะเวลาการส่งต่อที่ยาวนาน หรือ
ุ
การศึกษาในประเทศไทยที่พบว่ามีอบัติการณ์ระหว่างการส่งต่อที่สูง พบกลุ่มโรคระบบไหลเวียน การหายใจ
ั
ั
ทางระบบประสาท และมีความสัมพนธ์กับเวลาส่งต่อ 31 - 45 นาที นอกจากนี้ยังสัมพนธ์กับพยาบาลที่ไม่ได้
่
ปฏิบัติงานที่ห้องฉุกเฉินและการใช้ Mobile ICU เป็นต้น และการศึกษาวิจัยในฮองกง มีวัตถุประสงค์
ื่
เพอประเมินความรู้ของพยาบาล พบว่ามากกว่าครึ่ง เป็นพยาบาลที่มีอายุงานมากกว่า 10 ปี และส่วนมาก
ได้รับการอบรมเกี่ยวกับการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาล อกการศึกษาเป็นวิจัยเชิงคุณภาพที่ประเทศนอร์เวย์
ี
ื่
ปี ค.ศ. 2019 ชี้ให้เห็นว่าบุคลากรที่มีความรู้หรือทักษะน้อยจะต้องได้รับโอกาสที่ขอความช่วยเหลือจากเพอน
ร่วมทีมเมื่อต้องการความช่วยเหลือได้ นอกจากนี้ยังพบว่าบุคลากรเหล่านั้นรู้สึกสบาย (Comfort) มากขึ้น
ื่
5
ุ
เมื่อทราบว่าสามารถให้ค าแนะน าในการช่วยเหลือเมื่อ ผู้ป่วยมีอาการทรุดลง เพอให้เกิดอบัติการณ์ของ
Adverse event ให้ลดลงหรือได้รับการช่วยเหลือให้มีความรุนแรงลดลง จึงต้องมีการค้นหาความเสี่ยงตั้งแต่
ระยะก่อนการส่งต่อ (Pre - transferal phase) มีการพฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้น าส่งให้เหมาะสมส าหรับ
ั
ื่
ผู้ป่วย นอกจากนี้การใช้เทคโนโลยี Tele - monitoring มาช่วยเพอให้การเฝ้าติดตามสัญญาณชีพของผู้ป่วย
บนรถพยาบาลแล้ว สัญญาณชีพนี้ถูกส่งไปยังห้องฉุกเฉินที่มีแพทย์หรือพยาบาลที่มีทักษะคอยติดตาม
ความผิดปกติด้วย หากรถพยาบาลมีกล้องวงจรปิดที่สามารถส่งภาพและเสียงมาได้ยิ่งจะท าให้ระบบสื่อสาร
สมบูรณ์แบบมากขึ้น
ทัศนคติของพยาบาลวิชาชีผู้ท าหน้าที่ส่งต่อมีความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์หรือ
ปัจจัยต่าง ๆ ภายนอกของบุคลากร เช่น ความรุนแรงของโรคของผู้ป่วยหรือการจัดการระบบส่งต่อ ล้วนมีผล
ต่อความวิตกกังวลและความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ ระบบ Tele - monitoring ที่มีผู้เฝ้าติดตาม
และมีระบบการอานวยการตรงทางการแพทย์ช่วยให้ค าแนะน าเมื่อผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนระหว่างการส่งต่อ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 97