Page 102 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 102

เป็นการปิดช่องว่างความแตกต่างของ ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในการส่งต่อ ซึ่งจากการด าเนินงานเป็น
                                                                                                ิ่
                                                                                                        ื่
                                                                               ื่
                                                                                      ุ
                  ระยะเวลาหลายปี โรงพยาบาลหลายแห่งได้เห็นคุณค่าและมีการลงทุนเพอจัดซื้ออปกรณ์มาเพมเติม เพอให้มี
                                                                                                     ิ่
                  การใช้งานอย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลระหว่างส่งต่อจะเพมมากขึ้น
                  ความวิตกกังวลลดลง ท าให้บุคลากรมีความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน ซึ่งปรากฏอยู่ในผลการศึกษาก่อนหน้านี้
                         ข้อจ ากัดของการศึกษานี้ เป็นการน าเสนอในภาพรวม หากมีการศึกษาเชิงลึกลงในประชากรแต่ละกลุ่ม
                  ด้วยการศึกษาเชิงปริมาณชนิดไปข้างหน้า (Prospective) หรือการศึกษาเชิงคุณภาพ อาจพบข้อมูลที่ส าคัญ
                  ที่สามารถน าไปใช้ในการพัฒนาระบบการส่งต่อของประเทศไทยได้


                  สรุปและข้อเสนอแนะ


                         พยาบาลวิชาชีพมีความกังวลว่าจะเกิดภาวะแทรกซอนที่รุนแรงน้อยกว่าและมความมั่นใจในการดูแล
                                                                   ้
                                                                                        ี
                  ผู้ป่วยวิกฤตเพิ่มขึ้นในผู้ป่วยที่มีการใช้ Tele - monitoring ระหว่างการส่งต่อ และควรมีการท าการศึกษาวิจัย
                  เชิงคุณภาพต่อยอดเพอหาแนวทางการพัฒนาต่อไป
                                    ื่















































                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       98
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107