Page 106 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 106
ผลกำรศึกษำ
1. กำรวำงแผน (Plan)
1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ สนทนากลุ่ม ระดมสมอง ในบุคลากรผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้อง
ของโรงพยาบาลเลย จ านวน 19 คน ประกอบด้วย อายุรแพทย์ 1 คน แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 4 คน พยาบาล
วิชาชีพ 15 คน และผู้รับผิดชอบหลักระบบส่งต่อของโรงพยาบาลในเครือข่ายจ านวน 14 คน พบว่า จังหวัดเลย
มีเครื่อง CT Scan แห่งเดียวที่โรงพยาบาลเลย การเข้าถึงการ CT Scan ล่าช้า หากมีการลดขั้นตอนให้สามารถ
ิ่
เข้าถึง CT Scan ได้เร็วขึ้น จะส่งผลให้สามารถวินิจฉัย ให้ยาได้เร็วขึ้น วางแผนเพมการเข้าถึงระบบบริการ
ช่องทางด่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ทบทวนแนวทางการรับส่งต่อผู้ป่วยระบบ Stroke Fast Track
จากโรงพยาบาลชุมชน
1.2 พฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยระบบ Stroke Fast Track การประสานงานการส่งต่อ เมื่อมีผู้ป่วย
ั
ระบบ Stroke Fast Track ในโรงพยาบาลชุมชนในเครือข่าย ที่สามารถเข้าทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองได้
1) แพทย์โรงพยาบาลต้นทางประสานแพทย์โรงพยาบาลปลายทาง แพทย์อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึง
ข้อดี ข้อเสียของการให้ยาละลายลิ่มเลือด 2) พยาบาลโรงพยาบาลต้นทางส่งข้อมูลผู้ป่วย อาการ ผ่านทาง Line
: ส่งต่อจังหวัดเลย ศูนย์ส่งต่อโรงพยาบาลเลยจะท าบัตร OPD card รอประสานศูนย์ CT scan เพอประสาน
ื่
ขอท า CT Scan ประสานศูนย์เปล ชั่งน้ าหนักเปลเตรียมความพร้อมการเคลื่อนย้าย ส่งข้อมูลผลตรวจ
ื่
ทางห้องปฏิบัติการที่จ าเป็นมาใน Line ส่งต่อจังหวัดเลย เพอลดเวลารอผลเลือดที่โรงพยาบาลเลย
3) โรงพยาบาลชุมชนสามารถน าผู้ป่วยขึ้นรถพยาบาลฉุกเฉินและน าส่งได้ทันที ระหว่างที่ผู้ป่วยเดินทางมาถึงจุด
ที่ก าหนด (Check in) เป็นจุดที่ใช้เวลาเดินทางถึงโรงพยาบาลอก 10 - 15 นาที แจ้งโรงพยาบาลเลยทราบอก
ี
ี
ครั้ง เมื่อมาถึงโรงพยาบาลเลย ทีมเจ้าหน้าที่ส่งต่อโรงพยาบาลชุมชน สามารถน าส่งผู้ป่วยไปท า CT scan
ได้ทันที 4) ถ้าผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยน ทรุดลง ทีมพยาบาลส่งต่อโรงพยาบาลชุมชน ประสานเพื่อน าผู้ป่วยเข้าห้อง
ฉุกเฉินเพอประเมินอาการ แก้ไขภาวะฉุกเฉินก่อนไป CT Scan เช่น Glasgow Coma Score < 8 อาการ
ื่
เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวลดลง ระดับความดันโลหิตตัวบน (Systolic Blood Pressure) > 220
มิลลิเมตรปรอท และระดับความดันโลหิตตัวล่าง (Diastolic Blood Pressure) < 90 มิลลิเมตรปรอท เป็นต้น
2. กำรลงมือปฏิบัติ (Acting) กำรสังเกต (Observe)
น าแนวทางการดูแลผู้ป่วยระบบ Stroke Fast Track ไปใช้ โดยจัดประชุมร่วมกับสหวิชาชีพ เจ้าหน้าที่
โรงพยาบาลชุมชนในเครือข่าย สร้างความเข้าใจแนวทางการดูแลส่งต่อผู้ป่วยระบบ Stroke Fast Track จาก
โรงพยาบาลชุมชน
ผลกำรด ำเนินกำร
2566
ปีงบประมำณ 2564 2565
(ต.ค. 2565-มี.ค.2566)
จ านวน (ราย) 631 416 234
CT Scan ภายใน 20 นาที 86.45 NA NA
CT Scan ภายใน 10 นาที NA 97.35 96.15
Door to needle time ภายใน 60 นาที 72.22 87.83 93.10
3. กำรสะท้อนคิด (Reflecting)
ประเมินผลการดูแลผู้ป่วยระบบ Stroke Fast Track พบว่า ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ยาภายใน 60 นาที
เกิดจากรอญาติตัดสินใจ/ตัดสินใจช้า เปลี่ยนใจภายหลัง ผู้ป่วยบางรายความดันโลหิตสูง แพทย์ให้การรักษา
ด้วยยาลดความดันก่อนจึงได้รับยาละลายลิ่มเลือด ผู้ป่วยถูกส่งมาจากแผนก OPD มาด้วยอาการไม่ชัดเจน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 102