Page 104 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 104

ื่
                                                                                             ั
                         5. เก็บข้อมูล ติดตามตัวชี้วัดและประเมินผล และด าเนินการปรับปรุงแก้ไขเพอพฒนาระบบบริการ
                  ให้มีคุณภาพ
                  ผลกำรศึกษำ


                                                                                                    ปี 2566
                                        ตัวชี้วัด                     เกณฑ  ปี 2564  ปี 2565
                                                                           ์
                                                                                                     (พ.ค.)
                   1. ร้อยละผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินเข้าถึงระบบบริการ  >26%  12.2 %  12.3 %             17.3 %

                   การแพทย์ ฉุกเฉิน
                   2. ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่ได้รับการปฏิบัติการ EMS  >70 %  86.3%  87.2 %     88.9%
                   ภายใน 8 นาที

                   3. อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินภายใน 24 ชม.  <12 %  2.6 %   4.6 %     0.56 %
                   4. ร้อยละผู้ป่วย STEMI มาด้วย EMS                 100%      28.5%  42.8 %        62.5%
                   5. ร้อยละผู้ป่วย HIT มาด้วย EMS                   100 %  72.2 %  76.0%           82.6%


                  อภิปรำยผล
                                  ั
                                                                    ื่
                         จากการพฒนาระบบบริการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน เพอรองรับการเปลี่ยนแปลงแบบไร้รอยต่อในการ
                  ยกระดับการบริการที่มีศกยภาพมากขึ้น เช่น เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดจังหวัดสกลนคร มีการ
                                      ั
                  ขยายบริการที่มีประสิทธิภาพ ท าให้ผู้ป่วยเข้าถึงการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็วที่ชุมชนหรือที่บ้าน
                  และมีระบบการให้ค าปรึกษากับแพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจ ทันทีและให้การรักษาเบื้องต้นได้ทันที สามารถส่ง
                                              ื่
                  ผู้ป่วยไปที่โรงพยาบาลแม่ข่ายเพอท าการรักษาเฉพาะโรคได้ทันที โดยน าระบบ CCU Mobile มาใช้ในการ
                  บริการผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยได้  มีการพัฒนาการเข้าถึงระบบการแจ้งเหตุ

                  โดยใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัย พฒนาระบบ SOS SAKON เพอใช้ในระบบ EMS ท าให้สามารถสื่อสารและเข้าถึง
                                           ั
                                                                   ื่
                                                                                                        ิ่
                  ผู้รับบริการได้อย่างรวดเร็ว และ ท าให้ผู้ป่วยฉุกเฉินสามารถเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพมขึ้น
                  และส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินลดลง
                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                              ั
                         การพฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินแบบไร้รอยต่อ ในครั้งนี้ เป็นการบูรณาการงานระบบบริการ
                  การแพทย์ฉุกเฉินและการดูแลผู้ป่วยเฉพาะโรคที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตให้ได้รับการเข้าถึงการวินิจฉัย
                  และการรักษาที่รวดเร็วและเหมาะสม ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญในการดูแลผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุ เพอลดการเสียชีวิต
                                                                                              ื่
                       ิ
                                         ุ
                  และพการ ทางหน่วยงานอบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช เป็นหน่วยงานด่านหน้าที่ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินให้มีความ
                                                                                                ั
                  ปลอดภัย ทั้งในที่เกิดเหตุและระหว่างการน าส่งมาถึงโรงพยาบาล เล็งเห็นความส าคัญในการพฒนา ระบบการ
                  ดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัย จึงได้มีการพฒนาบุคลากรให้มีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยทั้งในจุดเกิดเหตุ
                                                 ั
                  และในโรงพยาบาล  เพอให้มีความมั่นใจ และมีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และสิ่งที่ส าคัญที่สุดคือผู้บริหารที่
                                      ื่
                                       ั
                  เห็นความส าคัญในการพฒนาครั้งนี้ ทั้งในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร และโรงพยาบาลแม่ข่าย

                                                                                                        ั
                                                     ั
                  สกลนคร และผู้อานวยการโรงพยาบาลพงโคน ที่ให้ความส าคัญและการสนับสนุน ผลักดันให้เกิดการพฒนา
                                                                                                 ี
                  ระบบการดูแลผู้ป่วยให้ประสบความส าเร็จ เป็นต้นแบบในการดูแลผู้ป่วย ให้มีความปลอดภัย อกทั้งเครือข่าย
                  ที่ดูแลผู้ป่วยใน คปสอ.และ รพ.สต.ทุกแห่งที่ร่วมด้วยช่วยกันในการพัฒนาที่ต่อเนื่องและยั่งยืน











                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      100
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109