Page 105 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 105
กำรพัฒนำช่องทำงด่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลันเครือขำยจังหวัดเลย:
่
One Province One ER
นางอุไรรัตน์ ภู่สูงเนิน และทีม
กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลเลย
จังหวัดเลย เขตสุขภาพที่ 8
ควำมส ำคัญของปญหำ/หลักกำรและเหตุผล
ั
การเข้าถึงทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลันมีระยะเวลาที่จ ากัดคือ ภายใน 4.5 ชั่วโมง
ื่
หรือเพยงแค่ 270 นาที เพอเข้าถึงการให้ยาละลายลิ่มเลือดด าอย่างเร็วที่สุดยิ่ง ส่งผลดีต่อผู้ป่วยสามารถ
ี
ลดอัตราทุพพลภาพและอัตราการตายผันแปรตามระยะเวลาที่ให้ยา ระยะเวลาดังกล่าวเริ่มตั้งแต่ผู้ป่วยมีอาการ
ผิดปกติทางระบบประสาทแบบเฉียบพลัน รวมกับระยะเวลาเดินทางจากบ้านมาที่โรงพยาบาล ระยะเวลา
เดินทางระหว่างโรงพยาบาลต้นทางถึงโรงพยาบาลปลายทาง ระยะเวลาคัดกรองที่ห้องฉุกเฉิน รวมถึงเวลา
ที่โรงพยาบาลปลายทางดูแลผู้ป่วยจนถึงได้ยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดด า (Door to needle time)
ซึ่งท าให้จ านวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอดตันเฉียบพลัน เข้าถึงบริการทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองได้อย่าง
ุ
จ ากัด โรงพยาบาลเลยเป็นโรงพยาบาลทั่วไป ระดับ Standard จ านวนเตียง 450 เตียง รับส่งต่อผู้ป่วยโรค
หลอดเลือดสมองจาก 14 อ าเภอ ระยะทางอ าเภอที่ใกล้ที่สุด 20 กิโลเมตร อ าเภอที่ห่างไกลที่สุด 120 กิโลเมตร
การส่งต่อผู้ป่วยทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองแบบเดิม เริ่มจากแพทย์โรงพยาบาลชุมชน โทรมาประสานการส่ง
ต่อกับแพทย์เวรห้องฉุกเฉิน/แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินโรงพยาบาลเลย จากนั้นผู้ป่วยจะถูกน าส่งโดยรถพยาบาล
ฉุกเฉิน เมื่อผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลเลย จะถูกส่งตัวเข้าที่ห้องฉุกเฉินเพอประเมินอาการ ซักประวัติ เจาะเลือด
ื่
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) จากนั้นได้รับการวินิจฉัย
การรักษาโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ที่ห้องฉุกเฉิน สถิติข้อมูล Door to needle time ภายใน
60 นาที ในปีงบประมาณ 2564 ร้อยละ 72.22 จากการทบทวนพบว่าการเข้าถึง Door to CT scan ล่าช้า
ส่งผลให้การวินิจฉัยและการรักษาล่าช้า จากปัญหาดังกล่าวจึงได้มีการประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างทีมสห
ื่
วิชาชีพ ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องเพอหาแนวทางการแก้ไขปัญหา เพอให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้รับการ
ื่
บริการที่มีประสิทธิภาพ ลดอัตราการเสียชีวิต ความรุนแรงของโรคและความพิการ
วตถุประสงค์กำรศึกษำ เพอพฒนาระบบบริการช่องทางด่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน
ั
ื่
ั
เครือข่ายจังหวัดเลย
วิธีกำรศึกษำ
เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผู้ร่วมด าเนินการวิจัย ประกอบด้วย ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะ
เฉียบพลัน ผู้ดูแลผู้ป่วย และบุคลากรผู้ให้บริการในเครือข่ายส่งต่อจังหวัดเลยที่เกี่ยวข้อง ด าเนินการระหว่าง
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2566 ด าเนินการใช้วงจรการวิจัยเชิงปฏิบัติการของเคมมิส
และแมกการ์ท (Kemmis & McTaggart) ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การลงมือปฏิบัติ
(Acting) การสังเกต (Observe) และการสะท้อนคิด (Reflecting) เป็นกรอบแนวคิดเชิงกระบวนการ เครื่องมือ
เก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวทางการดูแลและส่ง
ต่อผู้ป่วย วเครำะห์ข้อมล ค่าความถี่ ร้อยละ กลุ่มตัวอย่ำง ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบหรืออดตัน
ู
ิ
ุ
เฉียบพลัน มีอาการของโรคหลอดเลือดสมองภายใน 4.5 ชั่วโมง และไม่มีข้อห้ามส าหรับการให้ยาละลาย
ลิ่มเลือดทางหลอดเลือดด า เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเลย เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2566
โดยทบทวนข้อมูลจากแบบบันทึกทางการพยาบาลของห้องฉุกเฉิน จากเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ โรงพยาบาลเลย
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 101