Page 103 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 103
กำรพัฒนำระบบบริกำรดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน เพื่อรองรับกำรเปลี่ยนแปลงแบบไร้รอยต่อ
โรงพยำบำลพังโคน จังหวัดสกลนคร
นางวงจันทร์ สุทธิอาจ
โรงพยาบาลพังโคน จังหวัดสกลนคร เขตสุขภาพที่ 8
ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
โรงพยาบาลพงโคน เป็นโรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (M2) ขนาด 108 เตียง เมื่อเดือนตุลาคม 2565
ั
มีแพทย์เฉพาะทาง 4 สาขาหลัก (อายุรกรรม, ศัลยกรรม, สูตินรีเวชกรรม, กุมารเวชกรรม) ให้บริการผู้ป่วย
ในเขตและรับการส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนใกล้เคียง เป็นโรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ติดถนนทางหลวง
สายหลัก ท าให้การเดินทางสะดวกและมีผู้ป่วยจากต่างอาเภอที่ใกล้เคียงมารับบริการมาก มีผู้ป่วยที่มารับ
ุ
บริการที่ห้องฉุกเฉินเฉลี่ย 97 รายต่อวัน เป็นผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติเฉลี่ย 7.5 รายต่อวัน ส่วนมากเป็นอบัติเหตุ
ื้
ทางถนน มีหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับต าบล ยังไม่ครอบคลุมให้บริการในพนที่ ท าให้ผู้ป่วยวิกฤติ
ฉุกเฉิน ที่อยู่ห่างไกล เข้าถึงระบบบริการรักษาพยาบาลล่าช้าและในผู้ป่วย Fast track เช่น Stroke, STEMI ที่มี
ความเร่งด่วนที่ต้องเข้าถึงระบบบริการตรวจ วินิจฉัย ส่งต่อที่รวดเร็ว อาจเสียชีวิตหรือพการ หากเกิดความ
ิ
ล่าช้าในการเข้าถึงระบบการรักษาที่รวดเร็ว กอรปกับเครือข่ายบริการสุขภาพ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด
สกลนคร และโรงพยาบาลศูนย์สกลนคร มีการพฒนาระบบการเข้าถึงบริการการรักษาที่รวดเร็วในผู้ป่วย
ั
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ในรูปแบบ CCU Mobile และพฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินทั้งเครือข่าย
ั
ให้ทันสมัยโดยใช้การแจ้งเหตุ 1669 ผ่านแอป SOS sakonaKhon เพื่อความสะดวก และรวดเร็วในการแจ้งเหตุ
และการออกรับผู้ป่วยในที่เกิดเหตุหรือที่บ้าน และโรงพยาบาลพงโคนได้สมัครใจในการเข้าร่วมในโครงการฯ
ั
ั
เป็นโรงพยาบาลน าร่องในการพฒนาระบบบริการผู้ป่วยฉุกเฉิน ได้บูรณาการใช้ระบบ SOS sakonaKhon
และระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในรูปแบบ CCU Mobile เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย
ฉุกเฉินให้มีประสิทธิภาพ ให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบริการที่เท่าเทียม ทั่วถึง ทันเวลา และปลอดภัย
วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
ื่
ิ่
1. เพอเพมการเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินและการรักษาพยาบาลได้รวดเร็วในผู้ป่วยวิกฤติ
และฉุกเฉิน
2. เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินให้มีประสิทธิภาพ
วิธีกำรศึกษำ
1. ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับรพ.แม่ข่ายในเรื่องแนวคิด การจัดบริการการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ
ขาดเลือดเฉียบพลัน ในรูปแบบ CCU Mobile และโครงการพฒนาระบบการแจ้งเหตุและสั่งการโดยระบบ
ั
่
1669 ในรูปแบบ sos sakon แนวทางปฏิบัติในการจัดบริการ และวิเคราะห์จุดออนจุดแข็งของทีมงาน
เพื่อวางแผนในการเตรียมความพร้อมในการจัดการพัฒนาอัตราก าลังในการปฏิบัติงาน
2. เตรียมความพร้อมทีมบุคลากร และวัสดุอปกรณ์ และในการด าเนินงาน และให้ความรู้เกี่ยวกับ
ุ
การจัดบริการ ฝึกทักษะ และความรู้เพิ่มเติมในการด าเนินงานโครงการ โดยทีมโรงพยาบาลแม่ข่าย และพี่เลี้ยง
3. ให้ความรู้ประชาสัมพนธ์ โครงการและการจัดบริการให้กับทีมผู้น าชุมชน และประชาชนในพนที่
ั
ื้
ให้เข้าใจแนวทางปฏิบัติ และเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมพื้นที่
4. ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วย โดยบูรณาการทั้งของโครงการในการบริการดูแลผู้ป่วยวิกฤติ
ฉุกเฉินในพื้นที่
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 99