Page 126 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 126

ชัดเจน แต่ค่อนข้างคับแคบ น้ ารั่วจากเพดานและไม่มีห้องน้ าภายในศูนย์ โรงพยาบาลที่ส่งต่อไม่สามารถเข้าถึง
                  ข้อมูลด้านผลลัพธ์ของการดูแลรักษาผู้ป่วยได้ เนื่องจากมีโปรแกรม Smart refer แต่ยังไม่น าไปใช้ในทุกจุด

                  บริการภายในโรงพยาบาล ท าให้การจัดเก็บข้อมูลไม่ครบถ้วน และยังไม่สามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์
                  ร่วมกันได้

                         ข้อเสนอแนะกำรด ำเนินงำนของศูนย์ประสำนงำนส่งต่อ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ สรุปได้ดังนี้

                                                                                           ื้
                                        ั
                  ควรวางแผนการจัดสรรอตราก าลังให้เพยงพอต่อการปฏิบัติงาน วางแผนปรับปรุงพนที่ท างานให้สะดวก
                                                     ี
                                                                                     ั
                                                                                                       ื่
                                          ื้
                  ต่อการท างาน มีห้องน้ า มีพนที่ส าหรับรับประทานอาหาร นั่งเล่น พดคุย หรือพกผ่อนระหว่างเวร เพอผ่อน
                                                                           ู
                  คลายความเครียดจากการท างาน วางแผนพัฒนาการใช้งานโปรแกรม Smart refer ให้ครอบคลุมทุกจุดบริการ
                  ภายในโรงพยาบาล เพอให้การจัดเก็บข้อมูลครบถ้วน โรงพยาบาลที่ส่งต่อสามารถเข้าถึงข้อมูล ด้านผลลัพธ์
                                     ื่
                                                                                                     ื้
                  ของการดูแลรักษาผู้ป่วยได้ และสามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน ควรวางแผนพฒนาพนที่ศูนย์
                                                                                               ั
                  ให้มีความพร้อมรองรับกับปริมาณงานและขยายโครงการ Telemedicine
                  อภิปรำยผล
                         จากผลการศึกษาการประเมินผลการด าเนินงานของศูนย์ประสานงานส่งต่อ โรงพยาบาลสรรพ

                  สิทธิประสงค์ อภิปรายผล แต่ละด้าน ได้ดังนี้ 1) ด้านบริบท ผลการศึกษา พบว่า ศูนย์จัดตั้งขึ้นสอดคล้อง
                  กับนโยบายการส่งต่อของกระทรวงสาธารณสุขที่ต้องการให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึง และครอบคลุม
                  ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม และปลอดภัย สอดคล้องกับผลการศึกษาของทิพย์วิภา สังข์อินทร์, ภาณุ อดกลั้น
                  และนุชนารถ ศรีนาค (2563) พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการมีแผนระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินครบวงจรประกอบด้วย
                  ระบบบริหารการแพทย์ฉุกเฉิน ระบบส่งต่อผู้ป่วย ระบบบริการห้องฉุกเฉิน และเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วย

                  ในชุมชน 2) ด้านปัจจัยน าเข้า ผลการศึกษา พบว่า มีการจัดตั้งคณะกรรมการพฒนาระบบการรับส่งต่อผู้ป่วย
                                                                                    ั
                                            ื่
                  ในหน่วยงาน ในโรงพยาบาล เพอเป็นเป็นผู้ขับเคลื่อนและผลักดันให้เกิดการจัดการบริการศูนย์ประสานงานส่ง
                  ต่อ ที่เป็นรูปธรรมชัดเจน และมีการก าหนดเกณฑ์ในการประเมินผลลัพธ์ของการพฒนาระบบรับส่งต่อ
                                                                                           ั
                  เพอน าไปปรับปรุงและพฒนาระบบบริการรับส่งต่อ รวมทั้งการจัดตั้งศูนย์รับผิดชอบที่ชัดเจน สนับสนุนให้มีผู้
                    ื่
                                      ั
                  ปฏิบัติหน้าที่ตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งสอดคล้องการศึกษาของวราภรณ์ สมดี (2564) ซึ่งพบว่าปัจจัยแห่ง
                                     ั
                  ความส าเร็จของ การพฒนาแนวทางการดูแลและการพยาบาล ผู้ป่วย COVID - 19 ในโรงพยาบาลคือการที่
                  ผู้บริหารเห็นความส าคัญ อนุมัติงบประมาณในการปรับปรุงสถานที่ต่าง ๆ และประกาศนโยบาย ที่ชัดเจน

                  ในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยัง พบว่า ศูนย์ประสานงานส่งต่อมีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการ
                  ประสานการรับส่งต่อผู้ป่วยน าไปสู่การบรรลุเป้าหมาย 3) ด้านกระบวนการ ผลการศึกษา พบว่า
                                            ั
                  ศูนย์ประสานงานส่งต่อมีแผนพฒนาระบบบริการ สุขภาพการรับส่งต่อผู้ป่วยตาม Service Plan มีแนวทาง
                  การด าเนินงานชัดเจนในการระบบรับส่งต่อผู้ป่วยสอดคล้องกับนโยบายหลักของโรงพยาบาล 4) ด้านผลผลิต

                  ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลที่ปฏิบัติงานในศูนย์มีความรู้และสมรรถนะในการประสานงานส่งต่อ และไม่มีการ
                  ปฏิเสธการรับส่งต่อ ซึ่งสามารถด าเนินการได้บรรลุเป้าหมาย และมีความส าเร็จตามตัวชี้วัดของศูนย์
                  ประสานงานส่งต่อในการด าเนินงานรับส่งต่อผู้ป่วย ระดับจังหวัด/ระดับเขต ตามเป้าหมายที่ก าหนด
                  นอกจากนั้นผลการศึกษายัง พบว่า ศูนย์ประสานงานส่งต่อ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ มีแนวทางปฏิบัติ

                  ในการรับส่งต่อผู้ป่วยที่ชัดเจน ในระดับจังหวัด ระดับเขต 5) ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ การด าเนินงาน
                  ของศูนย์ประสานงานส่งต่อ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ผลการศึกษาพบว่า ด้านการบริหารจัดการ
                                       ั
                  มีโครงสร้าง สายการบังคบบัญชาที่ชัดเจน มีแนวทางการปฏิบัติงานระบบรับส่งต่อ มีการก าหนดบทบาทหน้าที่
                  ชัดเจน แต่มีปัญหาความไม่เพียงพอของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในศูนย์ ต้องขึ้นเวรเฉลี่ย 34 เวร/คน/เดือน จึงท า
                  ให้พยาบาลมีความเหนื่อยล้าจากการท างาน เครียดสะสม พนที่ปฏิบัติงานค่อนข้างคับแคบ น้ ารั่วจากเพดาน
                                                                    ื้





                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                      122
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131