Page 61 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 61
อภิปรำยผล
ั
จากการปรับปรุงและพฒนาแนวทางการประสานงานในการรับส่งต่อผู้ป่วยแบบ Pass Fast Pass
through พบว่า
1. ผู้ป่วยกลุ่มโรค Stroke Fast Track ระบบรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล (Inter facility
Patient Transfer) โดยใช้ระบบ Pass Fast Pass through
- โรงพยาบาลลูกข่ายที่มี CT-scan Pass through Stroke Unit โดยใช้ระบบ AOC และ
ระบบ Check point 100%
ผลกำรด ำเนินงำน
ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ ์ ปี 65 ปี 66
เป้ำหมำย (6 เดือน)
ผู้ป่วย Stroke เข้าเกณฑ์รับการรักษาด้วยยา rt-PA ≥ 65% 84.38%
ภายใน 60 นาที
- โรงพยาบาลลูกข่ายที่ไม่มี CT-scan Pass Fast to Emergency room โดยใช้ระบบ AOC
และระบบ Check point 100%
ผลกำรด ำเนินงำน
ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ ์ ปี 65 ปี 66
เป้ำหมำย (6 เดือน)
ผู้ป่วย Stroke เข้าเกณฑ์รับการรักษา Door to CT < 25 นาที 20 นาที 19 นาที
2. ผู้ป่วยกลุ่มโรค STEMI Fast Track ระบบรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล (Inter facility
Patient Transfer) โดยใช้ระบบ Pass Fast Pass through
- โรงพยาบาลลูกข่ายภายในจังหวัดภูเก็ต Pass through Ward CCU โดยใช้ระบบ AOC*
และระบบ Check point** 100%
ั
ั
- โรงพยาบาลลูกข่ายอนดามัน (จ.พงงา จ.กระบี่) Pass through Ward CCU โดยใช้ระบบ
Check point** 100% (โทรข่าย 1669 แจ้งจุด)
ผลกำรด ำเนินงำน
ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ ์ ปี 65 ปี 66
เป้ำหมำย (7เดือน)
อัตราการได้รับ Primary PCI ภายใน 120 นาที ≥ 50 % 50% 53.2%
ของผู้ป่วยSTEMI (31/62) (25/47)
อัตราการได้รับ Primary PCI ภายใน 120 นาที 50% 43.8%
ของผู้ป่วยSTEMI (31/62) (25/57) Andaman
อัตราการตายของผู้ป่วย STEMI < 8% 7.9% 7.1%
AOC*ระบบรถพยาบาลแบบรวมศูนย์ (Ambulance Operation Center)
Check point** 1) อนุสาวรีย์ 2) แยกราชภัฏ 3) แยกไทหัว 4) แยกอ าเภอเมือง
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 57