Page 62 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 62

3. ผู้ป่วยกลุ่มโรค Sepsis Fast Track ระบบรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล (Inter facility Patient
                  Transfer) โดยใช้ระบบ Pass Fast Pass through

                                - โรงพยาบาลลูกข่ายภายในจังหวัดภูเก็ตโรงพยาบาล Pass through Ward MICU โดยใช้
                  ระบบ AOC* และระบบ Check point** 100%

                                                                                         ผลกำรด ำเนินงำน

                                        ชื่อตัวชี้วัด                     เกณฑ  ์                  ปี 66
                                                                         เป้ำหมำย      ปี 65     (7 เดือน)
                   อัตราที่ผู้ป่วย Sepsis ได้รับการดูแลแบบภาวะวิกฤติภายใน   ≥30%     59.52%  40.28%
                   3 ชม.                                                                      (29/72)


                         4. ผู้ป่วยกลุ่มโรคแผนกกุมารเวชศาสตร์ (Pediatric, NB) ระบบรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล
                  (Interfacility Patient Transfer) โดยใช้ระบบ Pass Fast Pass through Consult แพทย์เวร รับตัวผู้ป่วย
                  สามารถน าส่งที่หอผู้ป่วยนั้น ๆ ได้เลย โดยไม่ต้องเข้าห้องฉุกเฉิน ศูนย์ประสานรับส่งต่อผู้ป่วย เปิดบัตรท า
                  Admitted ส่งผลให้ลดระยะเวลาการรอคอยการตรวจจากแพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางหรือส่งเข้าหอผู้ป่วย
                  จากระยะเวลา 2 - 4 ชั่วโมง เหลือเพียง 10 - 15 นาที

                         5. ผู้ป่วยกลุ่ม Emergency ระบบรับส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล (Inter facility Patient
                  Transfer) โดยใช้ระบบPass Fast Pass through OR

                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                           จากการพฒนาและปรับปรุงแนวทางการประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วยของศูนย์ประสานงานการส่งต่อ
                                  ั
                  ของโรงพยาบาลวชิระภูเก็ตและเครือข่ายอันดามันนั้น ได้ด าเนินการตั้งแต่การรับประสานงาน การให้ค าแนะน า
                                                                                            ื่
                  ดูแลผู้ป่วยด้วยระบบรถพยาบาลแบบรวมศูนย์ (Ambulance Operation Center) เพอการให้ค าปรึกษา
                  อานวยการตรงทางการแพทย์ (Online medical direction) และติดตามอาการผู้ป่วยระหว่าการส่งต่อ จนถึง

                  จุดหมายปลายทาง ลดขั้นตอนการประสานงานในผู้ป่วยกลุ่มโรค Fast Track ส่งผลให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการ
                  เฉพาะทางได้รวดเร็ว ปลอดภัย และได้มาตรฐาน เนื่องจากได้รับค าแนะน าและการดูแลจากทีมแพทย์

                                                                                               ั
                  ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง นอกจากนี้ยัง LEAN กระบวนการท างานที่ซ้ าซ้อน ลดความแออดในห้องฉุกเฉิน
                  (ER Overcrowd) ส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในการให้บริการทั้งของผู้รับบริการและผู้ให้บริการ จากการศึกษา
                  และการด าเนินงานในครั้งนี้ พบว่า การท างานที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของผู้ปฏิบัติงานที่เป็นสหสาขา

                  วิชาชีพ ส่งผลอย่างยิ่งต่อการด าเนินงานนี้ให้ส าเร็จและยั่งยืนตลอดไป

                           ข้อเสนอแนะพัฒนำต่อยอด น าแนวทางการประสานงานในระบบรับส่งต่อผู้ป่วยใช้กับกลุ่มโรคอื่น ๆ
                  เช่น กลุ่มโรคศัลยกรรมกระดูก จักษุ โสต ศอนาสิก เป็นต้น เพื่อประสิทธิภาพของ เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ
                  (Seamless Heath Service Network) ในเขตพื้นที่บริการสุขภาพอันดามัน
















                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       58
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67