Page 68 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 68
ตาราง 2 เปรียบเทียบระยะเวลาระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินแบบช่องทางด่วน ตามเกณฑ์ที่ก าหนด (N=30)
กระบวนกำร เกณฑ์ M SD t P-value
การคัดกรองผู้ป่วย 5 นาที 4.00 1.51 -3.631 <.001
การรักษาพยาบาลฉุกเฉินระบบ 5 นาที 3.14 1.56 -3.332 <.001
ช่องทางด่วน
การส่งต่อผู้ป่วย 30 นาที 27.63 3.90 -6.705 <.001
ตาราง 3 ความพึงพอใจของแพทย์และพยาบาลวิชาชีพ (N=30)
ควำมพึงพอใจ M SD ระดับ
ความพึงพอใจการระบบคัดกรองผู้ป่วย 4.43 0.62 มากที่สุด
ความพึงพอใจระบบการรักษาพยาบาล 4.70 0.46 มากที่สุด
ความพึงพอใจกระบวนการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ 4.73 0.44 มากที่สุด
ความพึงพอใจระบบส่งต่อผู้ป่วย 4.56 0.50 มากที่สุด
รวม 4.61 0.50 มำกที่สุด
5. อภิปรำยผล
ั
จาการศึกษาการพฒนารูปแบบบริการหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่ 12 สามารถอธิบาย
ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. สถานการณ์ระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ภายในเขตสุขภาพที่ 12 จากการประเมินตนเอง
ตามแบบประเมินระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (กรมการแพทย์, 2559) การสนทนากลุ่ม
และประเมินตามคู่มือแนวทางการจัดบริการห้องฉุกเฉิน (กรมการแพทย์, 2561) พบกระบวนการส าคัญในการ
จัดระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (ECS) แบบช่องทางด่วน (Fast Track) 4 กระบวนการ คือ กระบวนการคัด
กรองผู้ป่วย กระบวนการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน กระบวนการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ และกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย
จะสามารถให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินได้อย่างมีมาตรฐาน เท่าเทียม ทั่วถึง ทันเวลาและปลอดภัย
2. รูปแบบบริการหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่ 12 ผู้วิจัยพฒนาการจัดระบบบริการ
ั
รักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล จากการจัดการความรู้สู่การบริหารองค์การที่เป็นเลิศซึ่งได้รูปแบบ
การจัดบริการห้องฉุกเฉินไร้รอยต่อ (Seamless ER) และระบบส่งต่อผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ (Seamless Refer)
ภายใต้รูปแบบบริการหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่ 12 สรุปเป็น 4ER Model ประกอบไปด้วย
องค์ประกอบส าคัญดังนี้คือ Seamless ER 4 E ได้แก่ E1 : Emergency Triage การระบบคัดกรองผู้ป่วย
ควรใช้ระบบ MOPH ED Triage ให้เป็นมาตรฐานรูปแบบเดียวกันทั้งภายในโรงพยาบาลและเครือข่ายบริการ
ทุกโรงพยาบาลและมีกระบวนการเปิดใช้ระบบบริการเพมเติมเพอกระตุ้นระบบบริการให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
ิ่
ื่
ส่งผลต่อการเข้ารับบริการที่รวดเร็ว , E2 : Emergency Treatment ระบบการรักษาพยาบาล ควรจัดท า
มาตรฐานการรักษา (CPG) และการพยาบาล (CNPG) ให้เป็นรูปแบบเดียวกันทั้งเครือข่ายบริการในแต่ละ
จังหวัดภายในเขตและสามารถพฒนาต่อยอดให้เป็นรูปแบบเดียวกันทั้งเขตสุขภาพ, E3 : Emergency
ั
Teleconsult กระบวนการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ สามารถน าระบบสนับสนุนการรักษาพยาบาล โดยการน า
เทคโนโลยีเชื่อมโยงเครือข่าย ภายใต้กรอบแนวคิดการเชื่อมโยงเครือข่ายห้องฉุกเฉิน Virtual ER เช่น Tele-
consult, AOC, Telemedicine, IP Camera, E4 Emergency Transfer คือ ระบบส่งต่อผู้ป่วยพฒนา
ั
:
ภายใต้แนวคิดการส่งต่อผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ (Seamless Refer) ท าให้เกิดกระบวนการส่งต่อในกระบวนการ
ถัดไปคือ Seamless Refer 4 R ได้แก่ R1 : Referral Network การก าหนดเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยภายใน
โซน AAA ของเขตสุขภาพที่ 12 โดยก าหนดตามศักยภาพของแต่ละโรงพยาบาล, R2 : Referral Definition
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 64