Page 63 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 63
กำรพัฒนำรูปแบบบริกำรหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน ภำยในเขตสุขภำพที่ 12
Model development of service One province One ER in Regional 12
ประภัศร์ ติปยานนท์
1*
1*
ปราโมทย์ จินสกุล
1*
บัญจพารัตน์ นวลเจริญ
ปาริชาติ ตันติลานนท์ และคณะ
2*
โรงพยาบาลยะลา เขตสุขภาพที่ 12
1*
โรงพยาบาลสงขลา เขตสุขภาพที่ 12
2*
ั
ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
ั
กระทรวงสาธารณสุข ก าหนดนโยบายส าคัญให้มีการพฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินแบบครบวงจร
และระบบส่งต่อ ขับเคลื่อนโดยยุทธศาสตร์การบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) โดยมีเป้าหมายการ
ิ่
ั
ั
ื่
พฒนาเพอเพมการเข้าถึงบริการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ลดอตราตายและระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินมี
มาตรฐานเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายบูรณาการ เพื่อสร้างห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิตตั้งแต่การพฒนาการดูแลผู้ป่วย
ั
ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล (EMS) การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในโรงพยาบาล (ER) การส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน (Referral
ั
System) และการจัดการสาธารณภัย เขตสุขภาพที่ 12 ภายใต้คณะท างานพฒนาระบบบริการสุขภาพ
(Service plan) สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ด าเนินการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (ECS) มุ่งสู่การบริการ
ื่
ั
เป็นเลิศ (Service Excellence) เพอพฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินแบบครบวงจรและระบบส่งต่อ จากการ
ั
ทบทวนสถิติปีงบประมาณ 2564 พบว่าอตราตายของผู้ป่วยในรายโรคส าคัญที่มีระบบบริการช่องทางด่วน
(Fast Track) ได้แก่ Stroke STEMI Sepsis และ Trauma เท่ากับร้อยละ 5.84, 2.52, 24.58 และ 8.28
ตามล าดับ และวิเคราะห์สถานการณ์ภายในเขตสุขภาพที่ 12 ยังพบว่ากระบวนการดูแลผู้ป่วยยังมีปัญหา
การเข้าถึงบริการระบบบริการรักษาพยาบาลฉุกเฉินที่ล่าช้า ความเหลื่อมล้ าด้านศักยภาพของโรงพยาบาล
ั
ในแต่ละระดับ อกทั้งพบว่าการพฒนาระบบบริการห้องฉุกเฉินยังแยกส่วนระหว่างโรงพยาบาลใหญ่
ี
และโรงพยาบาลชุมชนท าให้เกิดช่องว่างของระบบการให้บริการ ซึ่งได้ศึกษาจากคะแนนประเมินระบบการ
รักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (กรมการแพทย์, 2559) พบว่าระดับความสามารถของบุคลากร
และสมรรถนะขององค์กรมีความแตกต่างกันมาก คณะท างานจึงได้เริ่มต้นด าเนินโครงการการพฒนาระบบ
ั
บริการบริการช่องทางด่วน (Fast Track) ใน 4 รายโรคส าคัญจากแนวคิด 1 จังหวัด 1 ห้องฉุกเฉิน
(One province one ER) ภายใต้กรอบ Triple T Model : One Province One ER Yala เรียนรู้ตามแนวคิด
การจัดการความรู้สู่การบริหารองค์การที่เป็นเลิศ มีกระบวนการนิเทศ ระหว่างโรงพยาบาลภายในเขตสุขภาพ
ที่ 12 และประเมินผล
ด้วยเหตุนี้ คณะผู้วิจัยจึงได้พฒนารูปแบบบริการหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน ภายในเขตสุขภาพที่ 12
ั
ื้
โดยการศึกษาแบบวิจัยและพฒนา (R&D : Research and Development) ขอบเขตการวิจัยในพนที่
ั
โรงพยาบาลระดับ A, S, M1 เขตสุขภาพที่ 12 จ านวน 10 โรงพยาบาล จากกลุ่มประชากรแพทย์เวชศาสตร์
ฉุกเฉินและพยาบาลวิชาชีพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ด้วยวิธีการสุ่มอย่าง่าย จ านวน 30 คน
เพอพฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (ECS) แบบช่องทางด่วน (Fast Track) ให้ประชาชนได้รับบริการอย่าง
ื่
ั
เท่าเทียม ทั่วถึง ทันเวลาและปลอดภัย
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 59