Page 72 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 72
2. ผลการทดสอบการประสานงานกับโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 5 จ านวน 1 แห่ง และโรงพยาบาล
กรมการแพทย์ จ านวน 1 แห่ง (เดือนมิถุนายน - กันยายน 2565) จ านวน 20 ราย
- ขั้นตอนการประสานงาน ถูกต้อง 11 ราย คิดเป็น 55 %, ส่งข้อมูลซ้ า/กดผิด 5 ราย คิดเป็น 25 %
ยกเลิก 4 ราย คิดเป็น 20% (ผล PCR Positive 1 ราย ปัญหาค่าใช้จ่าย 2 ราย อาการดีขึ้น 1 ราย)
- ขั้นตอนการน าส่ง ถูกต้อง 7 ราย คิดเป็น 64% ไม่ครบขั้นตอนน าส่ง 4 ราย คิดเป็น 36%
- ขั้นตอนการติดตาม Re-admit ใน 15 วัน จ านวน 7 ราย คิดเป็น 0% (ไม่พบ)
3. สื่อสารผู้ปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน
3.1 ส าหรับทีมสหวิชาชีพ ได้มีการประชุมชี้แจงแพทย์ พยาบาลศูนย์ Refer และห้องหัตถการ
ิ
ตัวแทนห้องบัตร ศูนย์ประกัน และทดสอบการใช้งานที่ศูนย์ปฏิบัติการคอมพวเตอร์ของโรงพยาบาล
มีการจัดท าคู่มือแต่ละหน่วยเพื่อสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานคนอื่นทราบด้วย มีตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกหน่วย
ครบ 100 %
ื่
3.2 ทดลองการใช้งานกับโรงพยาบาลแห่งอน ๆ โดยการส่ง VDO ให้ปฏิบัติตามขั้นตอน
(เดือนมิถุนายน - กันยายน 2565) จ านวน 9 ราย
- ขั้นตอนการประสานงาน ถูกต้อง 7 ราย คิดเป็น 57% ยกเลิก 2 ราย คิดเป็น 20% (ไม่มี
เอกสารแนบ 1 ราย มีเคสด่วน 1 ราย)
- ขั้นตอนการน าส่ง ถูกต้อง 5 ราย คิดเป็น 71% ไม่ครบขั้นตอนน าส่ง 2 ราย คิดเป็น 29%
- ขั้นตอนการติดตาม Re-admit ใน 15 วัน จ านวน 5 ราย คิดเป็น 0%
อภิปรำยผล
จากการศึกษาครั้งนี้ ช่วยยกระดับระบบบริการทางการแพทย์และการดูแลอย่างเป็นมาตรฐาน
การรักษา ระดับตติยภูมิ มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาตรฐานการรับส่งต่อผู้ป่วยอย่างสะดวก รวดเร็ว
และปลอดภัย อย่างเสมอภาค เกิด Transform care การดูแลผู้ป่วยร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่โรงพยาบาล
ั
ต้นทางและโรงพยาบาลปลายทาง ผู้ป่วยเข้าถึงบริการได้รับการรักษาที่เร็วขึ้น ลดแออดในโรงพยาบาลราชวิถี
ื่
ลดการรอคอยเตียงของโรงพยาบาลต้นทาง รูปแบบการรับ - ส่งต่อผู้ป่วยด้วยระบบโลจิสติกส์ เพอส่งรังสีร่วม
รักษาในโรงพยาบาลราชวิถี เป็นการพฒนาการออกแบบกระบวนการ One Stop Service referral model
ั
มาบูรณาการร่วมกับระบบ Logistics เพอการเชื่อมโยงข้อมูลและการติดตามการรับส่งผู้ป่วยระหว่าง
ื่
โรงพยาบาล จากการทดลองการใช้ระบบงาน แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การประสานงานเชื่อมโยงข้อมูล พบความ
ึ
ถูกต้อง/ครบถ้วน 55% และกระบวนการน าส่ง ครบทุกขั้นตอน 64% และไม่เกิดเหตุการณ์ไม่พงประสงค์
ระหว่างน าส่ง ตลอดจนการติดตาม Re-admit 15 วันหลังท า ไม่พบการ Re-admit อย่างไรก็ดี โรงพยาบาล
ื่
อื่น ๆ ยังมีความต้องการส่งต่อผู้ป่วยมาท าการรักษาเพอส่งตรวจรักษาด้วยเครื่องมือตรวจชนิดพิเศษเฉพาะทาง
ผู้วิจัย จึงได้ท าสื่อ VDO เพอให้โรงพยาบาลที่ไม่ได้รับการชี้แจง สามารถใช้งานระบบนี้ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
ื่
ซึ่งทั้งการประชุมชี้แจงและการใช้สื่อ VDO ทั้ง 2 วิธี พบว่าความถูกต้อง ครบถ้วนทั้งการประสานงาน
และการน าส่งผู้ป่วย ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดีกลุ่มเป้าหมาย มีจ านวนน้อยอาจต้องดูในระยะยาว
สรุปและข้อเสนอแนะ
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 68