Page 66 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 66
ขั้นตอนที่ 3 (D1) กำรพัฒนำรูปแบบ Development of Model
ขั้นตอนที่ 3.1 ตรวจสอบความสอดคล้องและความเหมาะสมของรูปแบบ บริการหนึ่งจังหวัด
หนึ่งห้องฉุกเฉิน ภายในเขตสุขภาพที่ 12 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้แก่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์
ฉุกเฉิน, แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริบาลผู้บาดเจ็บ (Trauma Center) และพยาบาลวิชาชีพหัวหน้ากลุ่มงาน
การพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ขั้นตอนที่ 3.2 ปรับปรุงแก้ไข ครั้งที่ 1 เพื่อให้ครอบคลุมบริการที่เกี่ยวข้องและมีประสิทธิภาพ
ในหารให้บริการ
ขั้นตอนที่ 4 (R2) กำรน ำรูปแบบไปใช้ Implementation
ขั้นตอนที่ 4.1 การจัดกลุ่มทดลอง
กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชากรแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉนและพยาบาลวิชาชีพ หน่วยงานอุบัติเหตุ
ิ
และฉุกเฉิน โรงพยาบาลยะลา กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling)
จ านวน 30 คน
ขั้นตอนที่ 4.2 การเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
ขั้นตอนที่ 4.3 การด าเนินการทดลองใช้รูปแบบ
ระยะที่ 3 กำรประเมินรูปแบบบริกำรหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน เขตสุขภำพที่ 12 ประกอบด้วย
ขั้นตอนที่ 5 (D2) กำรประเมินผลกำรใช้รูปแบบ Evaluation of Model
ขั้นตอนที่ 5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างโดยสถิติบรรยาย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
การทดลองใช้รูปแบบวิเคราะห์โดยสถิติ Wilcoxon Signed Rank Test
ขั้นตอนที่ 5.2 สรุปผลการทดลองใช้
4. ผลกำรศึกษำ : รูปแบบบริกำรหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน ภำยในเขตสุขภำพที่ 12
ภาพ 2 รูปแบบบริการหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน เขตสุขภาพที่ 12 (4 ER Model)
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 62