Page 65 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 65
ระยะที่ 1 ศึกษำสถำนกำรณ์ระบบรักษำพยำบำลฉุกเฉิน
เครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินการ คือ แบบสังเคราะห์เอกสาร มีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 (R1) ศึกษำข้อมลพื้นฐำน
ู
ขั้นตอนที่ 1.1 ศึกษาสถานการณ์ระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ภายในเขตสุขภาพที่ 12 ขั้นตอน
นี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดย
เชิงปริมาณใช้แบบประเมินระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (กรมการแพทย์, 2559) และเชิง
คุณภาพใช้วิธีการสนทนากลุ่ม
ขั้นตอนที่ 1.2 ศึกษาเอกสารมาตรฐานการจัดบริการระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน และงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้อง
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ุ
ประชากร คือ แพทย์และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานหน่วยงานอบัติเหตุและฉุกเฉิน
โรงพยาบาล ระดับ A, S, M1, ภายในพนที่เขตสุขภาพที่ 12 จ านวน 10 โรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาล
ื้
ั
หาดใหญ่ โรงพยาบาลยะลา, โรงพยาบาลตรัง, โรงพยาบาลพทลุง, โรงพยาบาลสงขลา, โรงพยาบาลปัตตานี,
โรงพยาบาลสตูล, โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์, โรงพยาบาลเบตง, โรงพยาบาลสุไหงโกลก
กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยสุ่ม
โรงพยาบาล และสุ่มแพทย์และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานหน่วยงานอบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลนั้น
ุ
จ านวน 30 คน
เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย
แบบประเมินห้องฉุกเฉินคุณภาพ และแบบค าถามในการสนทนากลุ่มซึ่งสร้างขึ้นจากการ
ทบทวนวิชาการระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน
กำรเก็บรวบรวมและวิเครำะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบประเมินห้องฉุกเฉินคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย
ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสนทนากลุ่มวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content
้
Analysis) ตามขั้นตอนของ Crabtree & Miller (1992) ได้แก่ การจัดแฟม การลงรหัสข้อมูล การจัดประเภท
ของข้อมูล การสร้างหมวดหมู่ การเชื่อมโยงและหาความสัมพนธ์ของหมวดหมู่และการตรวจสอบความถูกต้อง
ั
(Verify)
ระยะที่ 2 กำรสร้ำงบริกำรหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน เขตสุขภำพที่ 12 และทดลองใช้ ประกอบด้วย
เครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินการ คือ รูปแบบบริการหนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉิน ภายในเขตสุขภาพที่ 12
มีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้
ขั้นตอนที่ 2 (D1) กำรออกแบบรูปแบบ Designing of Model
ขั้นตอนที่ 2.1 ก าหนดกรอบแนวคิดและสร้างรูปแบบโดยการก าหนดโครงสร้าง การบริการ
หนึ่งจังหวัดหนึ่งห้องฉุกเฉินและสังเคราะห์องค์ประกอบเพื่อออกแบบกิจกรรมบริการ
ขั้นตอนที่ 2.2 สร้างรูปแบบ กระบวนการคัดกรองผู้ป่วย กระบวนการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน
ื่
ั
กระบวนการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ และกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย เพอพฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (ECS)
แบบช่องทางด่วน (Fast Track)
ั
ขั้นตอนที่ 2.3 สร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยได้พฒนาและปรับปรุงฃ
ประเด็นจากแบบประเมินระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล (กรมการแพทย์, 2559) และคู่มือ
แนวทางการจัดบริการห้องฉุกเฉิน (กรมการแพทย์, 2561)
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 61