Page 70 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 70
ิ
รูปแบบกำรรับ-ส่งต่อผู้ป่วยด้วยระบบโลจสติกส์ เพื่อส่งรังสีร่วมรักษำ โรงพยำบำลรำชวิถี
Rajavithi logistics for Smart referral platform due to Intervention Radiology
นางเสาวลักษณ์ วงศ์กาฬสินธุ์ และนายบรรจง ถันทอง
ศูนย์รับ-ส่งต่อผู้ป่วย โรงพยาบาลราชวิถี
เขตสุขภาพที่ 13 กรุงเทพมหานคร
ควำมส ำคัญของปัญหำวิจัย
โรงพยาบาลราชวิถี สังกัดกรมการแพทย์ เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับตติยภูมิหรือสูงกว่า
ที่มีผู้ป่วยส่งต่อมาจากสถานพยาบาลทุกสังกัดในกรุงเทพมหานครและเขตสุขภาพ มีแพทย์เชี่ยวชาญ
ื่
หลากหลายสาขา มีการน าเทคโนโลยีระดับสูงมาใช้เพอการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดวันนอน
โรงพยาบาล ลดแออัด ลดเวลารอคอย คุณภาพชีวิตผู้ป่วยดีขึ้น มีมาตรฐานการรักษาระดับสากล รังสีร่วมรักษา
ื่
ิ
Intervention Radiography (IR) นับเป็นหัตถการเพอการรักษาผู้ป่วย ด้วยการใช้เครื่องมือตรวจชนิดพเศษ
ื่
เฉพาะทางการแพทย์ ส่องเข้าไปในร่างกายเพอให้เห็นสภาพพยาธิ หลังจากนั้นอาศัยการมองเห็นจากเครื่องมือ
ตรวจพเศษต่าง ๆ เช่น Fluoroscopy, US และ CT เป็นต้น มาชี้น าให้สามารถใส่เครื่องมือเล็ก ๆ
ิ
ุ
เช่น ท่อกลวง (catheter), เข็ม หรืออปกรณ์ใด ๆ ไปท าการรักษาพยาธิสภาพ เสมือนการผ่าตัดชนิดหนึ่ง
ศูนย์รับส่งต่อผู้ป่วย โรงพยาบาลราชวิถี ได้พฒนาคุณภาพบริการพยาบาลเป็นรูปแบบ One stop service
ั
referral model ตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา ในรูปแบบการส่งต่อและรับกลับในผู้ป่วยท าหัตถการ
ส่องกล้องตรวจรักษาท่อทางเดินน้ าดีและตับอ่อน Endoscopy Retrograde - Cholangiopancreatography
(ERCP) พบว่า การเข้าถึงบริการทางการรักษาพยาบาลด้วยการท าหัตถการแบบ One stop service เพมขึ้น
ิ่
แบบก้าวกระโดด จากปี 2558-2561 เพมขึ้น 25 เท่า จากจุดเริ่มต้น และระยะเวลารอคอยการท าหัตถการ
ิ่
ลดลงถึง 10 เท่า นัดเฉลี่ย 3 วันท าการ และติดตามการกลับมาตรวจซ้ าหลังท าหัตถการอก 15 วัน
ี
ไม่พบภาวะแทรกซ้อน ปลายปี 2562 - 2564 เกิดสถานการณ์ Covid-19 ลดการรับ Refer ผู้ป่วยตามแผน
BCP ของรพ. แต่ยังมีการประสานขอท าหัตถการต่าง ๆ จากโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน ตลอดจน
เขตปริมณฑล พบว่า ประสานท า ERCP จ านวน 128 ราย Refer ไปโรงพยาบาลอน 10 ราย (8%) นัดมาเป็น
ื่
OPD จ านวน 7 ราย (5%) ไม่ stable จ านวน 1 ราย ผลด าเนินการน่าพอใจ และแนวโน้มจะขยายแนวร่วม
ี
ื่
การท าหัตถการแบบ One day surgery อน ๆ อก 8 - 10 หัตถการ คาดว่าประมาณ 250 - 300 รายต่อปี
อีกหนึ่งหัตถการที่น่าสนใจ คือหัตถการรังสีร่วมรักษา
รังสีร่วมรักษา Intervention Radiography (IR) เป็นหัตถการที่ใช้เครื่องมือตรวจชนิดพิเศษเฉพาะทาง
กระบวนการเข้าถึงการรักษามีข้อจ ากัดเช่นเดียวกับการท า ERCP จากประสบการณ์ผู้วิจัย พบว่า ผู้ป่วย
ที่ส่งต่อมาท าหัตถการรังสีร่วมรักษา กลับมีความเสี่ยงสูง ยุ่งยาก ซับซ้อนกว่าบางรายอาการทรุดลงระดับรุนแรง
ื่
เช่น ผู้ป่วยหยุดหายใจขณะมาถึงโรงพยาบาลราชวิถี ต้องส่งมาห้องฉุกเฉินก่อนเพอท าการช่วยชีวิต บางราย
มีอาการหอบเหนื่อย ค่าออกซิเจนต่ ากว่า 80% นอนราบไม่ได้ หากนับตามมาตรฐานการส่งต่อจ าแนกผู้ป่วย
ตามความรุนแรง กลุ่มดังกล่าวอยู่ระดับปานกลางจนถึงระดับรุนแรง (ตามการจ าแนกระดับความเฉียบพลัน
ของผู้ป่วยในปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินระหว่างสถานพยาบาล ของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน) จ าเป็นต้อง
ได้รับการพยาบาลเฉพาะทางและได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดขณะน าส่ง ดังนั้น กระบวนการดูแลผู้ป่วยอย่าง
ต่อเนื่อง เป็นระบบเดียวกันจะช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัย
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 66