Page 74 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 74

Stroke Fast Track แม่สำยปลอดภัยได้ rt-PA ก่อนส่งต่อ


                                                                                          นางสาวศิริพร จักรอ้อม
                                                                   งานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช โรงพยาบาลแม่สาย
                                                                                                           ี่
                                                                                  จังหวัดเชียงราย เขตสุขภาพท 1

                                 ั
                  ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
                         โรคหลอดเลือดสมอง เป็นสาเหตุส าคัญของความพการและเสียชีวิตในระบบสาธารณสุขไทยและทั่วโลก
                                                                  ิ
                            ุ
                  มีรายงานอบัติการณ์การเสียชีวิตของประชากรทั่วโลกจากโรคหลอดเลือดสมอง 5.7 ล้านคนต่อปี (World
                  Stroke Organization, 2008) ส าหรับประชากรไทยป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองกว่า 2.4 แสนคนต่อปี
                  และมีประชากรที่มีภาวะเสี่ยงที่จะเป็นโรคดังกล่าวประมาณ 10 ล้านคน (กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค
                  , 2550) จ าแนกตามเพศ พบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุ ส าคัญของการสูญเสียสุขภาวะอนดับหนึ่ง
                                                                                                     ั
                                                                          ั
                  ในหญิงไทย คิดเป็นร้อยละ 7.4 และพบเป็นการสูญเสียสุขภาวะอนดับสามในชายไทย คิดเป็นร้อยละ 5.8
                                                                                       ุ
                  (กลุ่มงานระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข, 2550) และในหน่วยงานอบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาล
                  แม่สาย จังหวัดเชียงราย พบว่า สถิติในปี พ.ศ.2563 , 2564 และ 2565 มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 249 ราย
                  , 161 ราย และ 176 ราย ตามล าดับ


                         ในปัจจุบันการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดอย่างเฉียบพลัน มีวิธีการรักษาที่ได้รับ
                  การ ยอมรับและถือเป็นมาตรฐานการรักษา ได้แก่ การรักษาด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytic
                  agent) ทางหลอดเลือดด า ในกรณีที่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออดตัน ยาที่ใช้คือ Recombinant
                                                                                 ุ
                  tissue plasminogen activator (rt-PA) ซึ่งมีหลักฐานยืนยันถึงประสิทธิภาพของการให้ยาละลายลิ่มเลือด

                  ทางหลอดเลือดด าภายในเวลา 270 นาที หรือ 4.5 ชั่วโมงแรกหลังเกิดอาการ (Onset) ถือว่าระยะเวลานี้เป็น
                  “ชั่วโมงทอง” ในการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออดตันที่จะช่วยให้เนื้อสมองของผู้ป่วย ถูกท าลาย
                                                                    ุ
                                                               ่
                  น้อยลงและสามารถฟนตัวกลับมาเป็นปกติ (ชาลินี พวงพน, 2023) เดิมเมื่อพบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
                                     ื้
                                                                   ู
                  ขาดเลือดเฉียบพลันแล้ว ท าได้เพยงคัดกรองให้เร็วและน าส่งให้ทันเวลาเพอไปรับยา rt-PA  ณ โรงพยาบาลที่มี
                                             ี
                                                                               ื่
                  ศักยภาพสูงกว่าคือโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ พบว่า สถิติในปี พ.ศ.2563, 2564 และ 2565
                  มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันที่ต้องส่งต่อ 44 ราย, 45 ราย และ 39 ราย ตามล าดับ
                         โรงพยาบาลแม่สาย เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 120 เตียง ระยะทางห่างจากโรงพยาบาลแม่ข่าย คือ
                  โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 60 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางมากกว่า 60 นาที หากไม่สามารถส่งต่อ

                  ได้ทันเวลา “ชั่วโมงทอง” จะท าให้ผู้ป่วยเสียโอกาสได้รับยา rt-PA ไป งานอบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลแม่สาย
                                                                                 ุ
                  ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการให้ยา rt-PA ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน จึงได้ร่วมกับ
                  แม่ข่ายพัฒนาช่องทางด่วนและเพิ่มศักยภาพในการให้ยา rt-PA ในผู้ป่วยที่มารับการรักษาในหน่วยงานอุบัติเหตุ

                  ฉุกเฉินและนิติเวช โรงพยาบาลแม่สาย ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 ก่อนส่งต่อไปดูแลใน Stroke unit
                                                                                  ิ่
                                                                                         ื้
                  โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ต่อไป ท าให้ลดอตราตาย เพมการฟนฟภาวะทุพพลภาพ
                                                                                            ู
                                                                       ั
                  และลดภาวะแทรกซ้อนจาการให้ยาละลายลิ่มเลือดในในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันได้
                  ทันเวลา
                  วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
                         1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่เข้าเกณฑ์ได้รับยา rt-PA ทันเวลาภายใน 60 นาที
                         2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันหลังได้รับยา rt-PA มีความปลอดภัยขณะน าส่ง






                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       70
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79