Page 75 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 75

วิธีกำรศึกษำ โดยใช้กระบวนการพัฒนา แบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้
                                                                                       ุ
                         1. ระยะการเตรียมความพร้อมในการให้ยา rt-PA ก่อนส่งต่อ โดยงานอบัติเหตุฉุกเฉินฯ และทีม
                                                                           ื่
                  คุณภาพการรักษาพยาบาล (PCT) น าเสนอผู้บริหารโรงพยาบาลเพอขออนุมัติด าเนินการ แล้วจึงประสาน
                                                             ื่
                  แม่ข่ายคือโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ เพอเป็นพเลี้ยงและแหล่งฝึกปฏิบัติในการให้ยา rt-PA รวมถึง
                                                                   ี่
                  การเข้าประเมินรับรองคุณภาพสถานพยาบาลตามเกณฑ์ สป.สช ก่อนการด าเนินงาน
                         2. เตรียมทีมงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการรักษา Stroke ทั้งหมด ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ห้องเวช

                  ระเบียน ห้องตรวจปฏิบัติการ งานรังสีแพทย์และเอกซเรย์คอมพวเตอร์ เภสัชกร พนักงานขับรถพยาบาล
                                                                          ิ
                  พนักงานเปล พร้อมชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางในการด าเนินการ Stroke fast track และให้ยา rt-PA ก่อน
                  ส่งต่อผู้ป่วย

                         3. เตรียมยา เวชภัณฑ์ รถพยาบาลที่ติดตั้งระบบ AOC ส าหรับน าส่งผู้ป่วย Stroke Fast Track
                         ระยะด ำเนินกำร Stroke fast track
                                1) ส่งทีมพยาบาลที่เกี่ยวข้องไปดูงานและการฝึกปฏิบัติ ณ Stroke unit โรงพยาบาลเชียงราย
                  ประชานุเคราะห์
                                2) ทีมพยาบาลและทีม PCT ประชุมเพื่อพัฒนาและปรับปรุงแนวทางเพิ่มเติมที่ได้จาการศึกษา

                  ดูงานจากโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ให้เหมาะกับบริบทของโรงพยาบาลแม่สาย
                                3) น าแนวทางที่ได้จากการพฒนาฝึกปฏิบัติและซักซ้อมเสมือนผู้ป่วยจริงพร้อมกับจับเวลา
                                                         ั
                  ในแต่ละขั้นตอน เพอหาจุดออนแล้วน ามาปรับปรุงแก้ไขขั้นตอนที่บกพร่อง โดยซักซ้อมสถานการณ์ทั้งใน
                                           ่
                                   ื่
                  หน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินฯ และงานผู้ป่วยใน
                      4. ด าเนินการ Stroke fast track และให้ยา rt-PA ก่อนส่งต่อในผู้ป่วยรายแรกในเดือนกันยายน 2565
                  ประเมินคุณภาพตามแนวทางที่ก าหนดจนถึงขั้นตอนการส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

                  ผลกำรศึกษำ

                         ตำรำงที่ 1 ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินและนิติเวช

                                                    ปีงบประมำณ 2564      ปีงบประมำณ 2565      ปีงบประมำณ 2566
                               ตัวชี้วัด             ต.ค.63 - ก.ย.64      ต.ค.64 - ก.ย.65      ต.ค.65 - มี.ค.66

                                                          (รำย)                (รำย)                (รำย)
                   ผู้ป่วย Stroke ทั้งหมด                  161                  176                  109

                   ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ Stroke Fast track   45                   51                    49

                   จ านวนผู้ป่วย Stroke Fast track         45                   39                    29
                   onset < 4.5 ชั่วโมง ส่งต่อทันเวลา
                   จ านวนผู้ป่วย Stroke Fast track

                   onset < 4.5 ชั่วโมง เข้าเกณฑ ์          12                   13                    8
                   ได้รับยา rt-PA ภายใน 60 นาที

                         ตำรำงที่ 2 ระยะเวลาในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน
                                                    ปีงบประมำณ 2564      ปีงบประมำณ 2565  ปีงบประมำณ 2566
                               ตัวชี้วัด             ต.ค.63 - ก.ย.64      ต.ค.64 - ก.ย.65      ต.ค.65 - มี.ค.66

                                                          (นำที)               (นำที)              (นำที)
                   ระยะเวลาเฉลี่ยในการได้รับยา rt-PA        -                   48                 39.13
                   ตั้งแต่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล





                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       71
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80