Page 78 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 78
ื่
ั
3. หาโอกาสพฒนาและได้ก าหนดแนวทางปฏิบัติการคัดกรองซ้ า (Re-triage) เพอป้องกันการเกิด
อุบัติการณ์ผู้ป่วยทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลล าพูน ดังนี้ คือ
3.1. กลุ่มอาการ Sepsis ใช้ New Score ในการประเมินร่วม เพื่อพิจารณาการให้ยาปฏิชีวนะ
ภายใน 1 ชั่วโมง โดยหากพบว่าคะแนน New Score ≥ 5 ให้ Activate Fast track Sepsis เพอให้ผู้ป่วย
ื่
ได้รับการ Resuscitateได้ทันทีไม่เกิดภาวะ Septic Shock
3.2. กลุ่มที่มาด้วยระบบ Trauma high mechanism เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงระดับ
ความรู้สึกตัว (Glasgow Coma Score: GCS) ถ้าเริ่มลดลงอย่างรวดเร็วผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงแย่ลง
สามารถ Activate Trauma fast track ตาม Criteria ได้ทันที
3.3 กลุ่มที่มาด้วย Pain จุดคัดกรอง เพิ่มเติมการใช้ Pain score เป็นเครื่องมือในการประเมิน
ร่วมกับ TOD (Target organ damage) เช่น TIA ปวดศีรษะ ตามัว เจ็บอกเหนื่อยง่าย
่
4. น าแนวทางปฏิบัติที่ได้ชี้แจงแนะน าวิธีการปฏิบัติให้แกเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เพื่อน าลงสู่การปฏิบัติ
พร้อมกับ Monitor ติดตามระยะเวลา 6 เดือน
5. สรุปผลการด าเนินงาน
ผลกำรศึกษำ
ื่
การใช้กระบวนการ Re - Triage เพอไม่ให้เกิดอบัติการณ์ผู้ป่วยทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์จากการ
ุ
ุ
คัดกรองคลาดเคลื่อน ในระยะเวลา 6 เดือน พบว่าอบัติการณ์ผู้ป่วยอาการทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์จากการ
คัดกรองคลาดเคลื่อนในระดับ E ถึง I เป็นร้อยละ 0
อภิปรำยสรุป
1. จากการทบทวนรายงานความเสี่ยง ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 – 31 เมษายน 2565 ไม่เกิด
อุบัติการณ์การผู้ป่วยอาการทรุดลงโดยไม่คาดการณ์จากการคัดกรองคลาดเคลื่อนระดับ E ถึง I
2. การคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกตามมาตรฐานจ านวน Under Triage ลดลงร้อยละ 92 และการคัดกรอง
ผู้ป่วยจ านวน Over Triage ลดลง ร้อยละ 99
3. การน าแนวปฏิบัติ Re –Triage มาใช้พบว่า ไม่เกิดอบัติการณ์ผู้ป่วยอาการทรุดลงโดยไม่คาดการณ์
ุ
ุ
จากการคัดกรองคลาดเคลื่อนที่ห้องฉกฉินโรงพยาบาลล าพูน
4. เจ้าหน้าที่เข้าใจหลักการและสามารถน าแนวปฏิบัติการ Re – triageมาใช้จนเกิดเป็นแนวปฏิบัติ
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัย
ข้อเสนอแนะ
กระบวนการ Re - Triage เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยตามมาตรฐานการประเมิน
ื่
ซ้ าตามระดับความฉุกเฉิน เพอป้องกันไม่ให้เกิดอาการทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยที่อยู่
ั
ในภาวะวิกฤตได้รับการดูแลรักษาได้ทันเวลา โดยการบริหารจัดการอตราก าลังภายในให้มีความเหมาะสม
ื่
มีการมอบหมายงานอย่างรัดกุมเพอให้มีความพร้อมและปฏิบัติอย่างสม่ าเสมอในการท า Re - Triage ไม่ว่า
อยู่ในสถานการณ์ใดและได้เพิ่มเป็นแนวปฏิบัติใหม่ขึ้นมาและในทีมยอมรับข้อปฏิบัติได้ดี
สิ่งที่ได้เรียนรู้
1. การเสริมสร้างทักษะในการคัดกรองเป็นเรื่องที่มีความส าคัญ เมื่อเกิดความคิดเห็นขัดแย้งในการ
ื่
ประเมินคัดกรองการให้ระดับความฉุกเฉินกับผู้ป่วยควรมีการน าประเด็นมาเป็นวาระในการประชุมเพอระดม
สมองในการคิดวิเคราะห์ให้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบมีเกณฑ์ในการตัดสินอย่างมีมาตรฐาน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 74