Page 77 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 77

กำรคัดกรองซ้ ำ (Re-triage) ป้องกันอุบัติกำรณ์ผู้ป่วยทรุดลงโดยไม่ได้คำดกำรณ์


                                                                                    นางจิราภรณ์ กองเกียรติเจริญ
                                                                      กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉกเฉิน
                                                                                                        ุ
                                                                                 โรงพยาบาลล าพูน เขตสุขภาพที่ 1


                  หลักกำรและเหตุผล
                                                        ู
                                                                                                  )
                         งานห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลล าพน ได้ใช้ระบบEmergency Severity Index (ESI   version 4
                  เป็นแนวทางในการคัดแยกผู้ป่วยตามความรุนแรงแบ่งเป็น 5 ระดับ และจากการศึกษาข้อมูลผู้ป่วยอาการ
                  ทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ ย้อนหลังปี พ.ศ. 2559 – 2561 น าไปศึกษาวิเคราะห์พบว่ามีปัญหาการคัดกรอง
                                                                         ู
                                                                                                   ั
                  คลาดเคลื่อนเกิดขึ้น ในปี 2562 งานห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลล าพนจึงได้ด าเนินการจัดกิจกรรมพฒนาระบบ
                                                   ื
                  การคัดกรองผู้ป่วยขึ้น โดยการปรับใช้คู่มอการคัดกรองผู้ป่วยของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (MOPH
                                                                  ุ
                  ED.Triage) แต่ยังคงพบปัญหาอปสรรคเนื่องจากยังเกิดอบัติการณ์ความเสี่ยงระดับ E ถึง ระดับ I ในผู้ป่วย
                                             ุ
                  มีอาการทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ในห้องฉุกเฉินจากการคัดกรองคลาดเคลื่อน ซึ่งข้อมูลปี 2564 - 2565
                  พบอบัติการณ์ความเสี่ยงดังนี้ ระดับ E จ านวน 2 รายงาน ระดับ I จ านวน 2 รายงาน คิดเป็นร้อยละ 2.94
                      ุ
                  และ 3.70 ตามล าดับ อบัติการณ์ความเสี่ยงระดับ A - D ประเด็น Under Triage จ านวน 68,54 ราย คิดเป็น
                                      ุ
                  ร้อยละ 0.17 และ 0.14 และ Over triage จ านวน 9 และ 2 ราย คิดเป็นร้อย 0.02 และ 0.005  ซึ่งจากข้อมูล
                                                                                                     ุ
                  สถิติดังกล่าวมีจ านวนการคัดกรองคลาดเคลื่อน Over Triage ลดลง แต่ Under Triage ยังพบอบัติการณ์
                                                                                            ู
                    ิ่
                  เพมขึ้น  ผู้ศึกษาจึงร่วมกับคณะท างานบริหารความเสี่ยงห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลล าพนได้รวบรวมข้อมูล
                   ุ
                  อบัติการณ์ความเสี่ยงทั้งระดับ E ถึง ระดับ I และ ระดับ A – D น ามาศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหากัน
                   ี
                  อกครั้ง โดยการท า RCA (Root Cause Analysis) และได้แนวทางปฏิบัติการคัดกรองซ้ า (Re - triage)
                                                                                               ู
                                   ุ
                    ื่
                  เพอป้องกันการเกิดอบัติการณ์ผู้ป่วยทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลล าพนขึ้น และน ามา
                  พัฒนาเป็นเครื่องมือลงสู่การปฏิบัติใช้ต่อไป
                                 ื
                   ั
                  วตถุประสงค์ เพ่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัยได้มาตรฐานไม่เกิดอุบัติการณ์ อาการทรุดลงโดยไม่ได้
                  คาดการณ์จากการคัดกรองคลาดเคลื่อน ในระดับ E - I เป็น 0
                  ระยะเวลำด ำเนินกำร 1 พฤศจิกายน 2564 - 30 เมษายน 2565 ระยะเวลา 6 เดือน

                  วิธีกำรด ำเนินกำร

                         1. ติดตามตัวชี้วัดอาการทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ในระบบโปรแกรมความเสี่ยงที่เป็นระดับ E
                  ถึงระดับ I และสถิติข้อมูลผู้ป่วยจากการคัดกรองคลาดเคลื่อนในห้องฉุกเฉิน Under / Over Triage ที่เป็น
                  ระดับ A - D

                         2. น าข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ในการท า RCA (Root cause analysis) โดยการระดมสมองของทีม
                  คณะท างานบริหารความเสี่ยงห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลล าพูน ในวันที่ 24 ตุลาคม 2564 ได้ข้อสรุปดังนี้ คือ
                                2.1 ผู้ป่วยที่อาการทรุดลงโดยไม่ได้คาดการณ์ระดับ E - ระดับ I พบว่าการคัดกรองเข้ามา
                  ในห้องฉุกเฉินเป็นผู้ป่วยระดับ Urgency (สีเหลือง: ระยะเวลารอคอย 30 นาที) เจ้าหน้าที่คัดกรองไม่ได้
                  มีการสื่อสารกับทีมดูแลด้านในห้องฉุกเฉิน ผู้ป่วยไม่ได้รับการ Monitor ต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่ในระหว่างการรอ

                  แพทย์ตรวจเนื่องจากแพทย์จะต้องตรวจเคสที่เป็นระดับ Resuscitation และ Emergency ก่อน
                                2.2 ความเสี่ยงระดับ A-D เป็นกลุ่มผู้ป่วย Under Triage เรียงตามล าดับ 3 กลุ่มโรค ดังนี้
                                1) Sepsis และ Respiratory Distress 2) กลุ่มTrauma high mechanism และ 3) กลุ่ม

                  อาการ Pain




                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       73
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82