Page 76 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 76

ปีงบประมำณ 2564      ปีงบประมำณ 2565  ปีงบประมำณ 2566

                               ตัวชี้วัด             ต.ค.63 - ก.ย.64      ต.ค.64 - ก.ย.65      ต.ค.65 - มี.ค.66
                                                          (นำที)               (นำที)              (นำที)
                   ระยะเวลาที่น้อยที่สุดในการได้รับยา
                   rt-PA ตั้งแต่เข้ารับการรักษาใน           -                   48                   18
                   โรงพยาบาล Door to needle time

                   (min)
                   ระยะเวลาที่มากที่สุดในการได้รับยา
                   rt-PA ตั้งแต่เข้ารับการรักษาใน           -                   48                   65

                   โรงพยาบาล Door to needle time
                   (max )

                  อภิปรำยผล
                         จากผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันที่ต้องได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน

                  60 นาที ของผู้ป่วยที่มารับบริการในหน่วยงานอบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลแม่สาย ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน
                                                         ุ
                  2565 ถึง 31 มีนาคม 2566 มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันทั้งหมด 49 ราย เข้าเกณฑ์การใช้ rt-PA
                  ในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลแม่สาย 8 ราย ก่อนส่งต่อไปดุแลต่อเนื่องใน Stroke unit ของโรงพยาบาลเชียงราย
                  ประชานุเคราะห์ ไม่เข้าเกณฑ์ในการให้ยา rt-PA แต่ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

                                                               ี่
                  20 ราย และไม่เข้าเกณฑ์ในการให้ยาและไม่เข้าเกณฑ์ทต้องส่งต่อ 20 ราย (รับไว้รักษาในหอผู้ป่วยโรงพยาบาล
                  แม่สาย)
                         การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเวลาปัจจัยด้านเวลาของผู้ป่วยที่มารับการรักษาด้วยอาการของโรคหลอด
                  เลือดสมองเฉียบพลันพบว่าผู้ป่วยที่มารักษา ทันเวลา (fast track) และได้รับยา rt-PA จ านวน 8 ราย พบว่า

                  ระยะเวลาในการมาถึงโรงพยาบาลหลังจากเกิดอาการของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน
                  อยู่ ระหว่างเวลา 18 - 49 นาที เฉลี่ยเท่ากับ 39.13 นาที ผู้ป่วยส่งถึงโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
                  ได้อย่างปลอดภัย

                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                                                ั
                         ปัจจัยความส าเร็จในการพฒนา Stroke fast track และให้ยา rt-PA ก่อนส่งต่อ ในผู้ป่วยโรคหลอด
                  เลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันนั้นต้องพฒนาร่วมกันเป็นทีมและมีการประสานงานการส่งต่อที่ดี รวมถึง
                                                     ั
                  การได้รับการสนับสนุนที่ดีจากแม่ข่าย มีแนวปฏิบัติและก าหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน พร้อมทั้งน าข้อมูล
                  กลับมาวิเคราะห์ทบทวนเพื่อพัฒนาให้ดีขึ้นในผู้ป่วยรายต่อไป แต่ทั้งนี้พบว่ามีผู้ป่วยบางรายที่มีความซับซ้อนทีม

                  จ าเป็น ต้องใช้เวลาในระยะหนึ่งในการช่วยชีวิตแก้ไขภาวะวิกฤต (Resuscitation) จนอาการคงที่จึงมีผลต่อ
                  การให้ยาไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ว่าผู้ป่วย Ischemic stroke ต้องได้รับยา Thrombolytic agent ภายใน
                  60 นาที เมื่อมาถึงโรงพยาบาล อกประการหนึ่งด้วยข้อจ ากัดของอาคารสถานที่ท าให้โรงพยาบาลแม่สาย
                                               ี
                   ยังไม่สามารถเปิด Stroke unit เพอดูแลผู้ป่วยหลังให้ยา rt-PA จึงจ าเป็นต้องส่งต่อทุกราย แต่ทั้งนี้ผู้บริหาร
                                                ื่
                  และทีมการรักษา พยาบาลได้เห็นความส าคัญจึงน าเข้าแผนพัฒนาโรงพยาบาลเป็นล าดับต่อไป












                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       72
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81