Page 80 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 80
ปักหมุด หยุดโควิด
นางสาว รัชดาวรรณ แย้มวงษ์ และคณะ
หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลอ่างทอง
จังหวัดอ่างทอง เขตสุขภาพท 4
ี่
ั
ควำมส ำคัญของปญหำวิจัย
ุ
ุ
ปัจจุบันกลุ่มงานอบัติเหตุและฉุกเฉินให้บริการรักษาพยาบาลเบื้องต้น ผู้บาดเจ็บจากอบัติเหตุ
และผู้ป่วยฉุกเฉินทุกสาขาตลอด 24 ชั่วโมง รวมถึงการให้บริการในระบบส่งต่อ (Referral System) รับ Refer
จากโรงพยาบาลชุมชน (Refer in) ส่งผู้ป่วยกลับโรงพยาบาลชุมชน (Refer back) ส่งต่อผู้ป่วยกรณีเกิน
ศักยภาพ (Refer Out) และรับกลับจากโรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า (Refer Receive) โดยมีการจัดระบบ
การส่งต่อผู้ป่วยทั้งฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉินร่วมถงโรคติดเชื้ออุบัติใหม่
ึ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค Coronavirus disease 2019 หรือ COVID - 19
แม้จะมีความพยายามในการควบคุมการระบาด แต่ก็ยังไม่ประสบความส าเร็จ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2564
ทั่วโลกมีการติดเชื้อจ านวน 7,818 คน และสถานการณ์ในประเทศไทยวันที่ 19 มีนาคม 2564 มีผู้ป่วยยืนยัน
สะสม 27,594 คน รายใหม่ 100 คน ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง 9 คน เสียชีวิต 90 คน (ข้อมูลอางอง; ศูนย์บริหาร
ิ
้
สถานการณ์โควิด 19 (ศบค.)
จากสถานการณ์มีการเพมของผู้ป่วย COVID - 19 มีการระบาดเป็นวงกว้างเป็นประเด็นส าคัญ
ิ่
เนื่องจากเป็นโรคอบัติใหม่ซึ่งต้องการองค์ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยการเพมขึ้นของจ านวนผู้ติดเชื้อ ส่งผลให้เกิด
ุ
ิ่
ความคลาดแคลนในการดูแลรักษาซึ่งเตรียมไปถึงจ านวนเตียงผู้ป่วยวิกฤตเป็นที่มาของการส่งต่อผู้ป่วย
ไปยังโรงพยาบาลที่มีศักยภาพในการรักษาซึ่งทางสถานพยาบาลทั่วประเทศต้องมีการเตรียมความพร้อม
ื่
เพอรองรับแบบ NEW NORMAL จึงเป็นที่มาของการพฒนาระบบส่งต่อภายในโรงพยาบาล (Intra hospital
ั
Transfer) และการส่งต่อระหว่างโรงพยาบาล (Inter hospital transfer)ซึ่งต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งด้าน
โครงสร้าง(Structure) ระบบบริการ (System) และบุคลากร (Staff) ตั้งแต่การส่งต่อ ขณะส่งต่อและหลังจาก
ส่งต่อ แต่จากการปฏิบัติงาน พบว่า มีปัญหาด้านระบบสื่อสาร การประสานงานซ้ าซ้อน ต้องประสานงาน
หลายครั้ง พยาบาลควบคุมการติดเชื้อกับพยาบาลศูนย์ส่งต่อสื่อสารไม่ตรงกันและไม่ชัดเจนเจ้าหน้าที่
ผู้ปฏิบัติงานสับสน มีคนสั่งการหลายคน ไม่มีแนวทางปฏิบัติเรื่องการ Refer in ผู้ป่วย COVID – 19 ที่ชัดเจน
่
ผู้ป่วยบางรายถูกส่งมากอนเวลานัดหมาย การเตรียมความพร้อมของตึกที่รับผู้ป่วยมีความล่าช้า เจ้าหน้าที่ในรถ
คันที่เกี่ยวข้องเข้าใจไม่ตรงกัน เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยไม่ทราบทะเบียนรถที่ล าเลียงคนไข้ พนักงาน
ขับรถน ารถไปจอดผิดจุด
ิ่
ดังนั้น ทางหน่วยงานอบัติเหตุและฉุกเฉินจึงคิดพฒนาแนวทางการรับ-ส่งต่อแบบปักหมุดที่เพม
ุ
ั
ประสิทธิภาพการประสานงานกับแพทย์ หน่วยตรวจ หน่วยงาน และโรงพยาบาลภายนอกทั้งที่เป็นเครือข่าย
และไม่เป็นเครือข่ายให้มีการประสานงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จะเป็นการง่ายและเกิดประโยชน์สูงสุด
ทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ
วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
1. เพื่อพัฒนาแนวทางปฏิบัติการส่งต่อผู้ป่วย Refer in ในสถานการณ์โควิดโดยใช้กำรปักหมุด
2. เพอให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตนได้ถูกต้องในการเตรียมรับผู้ป่วย COVID และ Patient Under
ื่
Investigation I
3. เพื่อเกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทั้งหน่วยภายในและภายนอกหน่วยงาน
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 76