Page 89 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 89
ตำรำงที่ 4 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของพยาบาลก่อนและหลังใช้แนวทางปฏิบัติ
รูปแบบใหม่ โดยใช้ Paired t-test
ความพึงพอใจ คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน t P
ก่อนใช้แนวทางปฏิบัติรูปแบบใหม่ 2.27 0.23 -11.58 0.00
หลังใช้แนวทางปฏิบัติรูปแบบใหม่ 4.31 0.53
สรุปและข้อเสนอแนะ
ั
1. การพฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลเฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิต
ั
ของผู้บาดเจ็บรุนแรงเกิดแนวทางปฏิบัติรูปแบบใหม่ เป็นการพฒนาอย่างมีกลยุทธ์และสอดคล้องกับบริบท
และสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และแก้ไขประเด็นต่างๆที่เคยถูกมองข้ามไป
หรือคาดคิดไม่ถึงว่าจะมีผลต่อการให้การดูแลผู้บาดเจ็บรุนแรงในแต่ละราย โดยน าประเด็นปัญหาในการ
ั
ปฏิบัติงานและการทบทวนวรรณกรรมมาออกแบบพฒนาแนวทางปฏิบัติรูปแบบใหม่ จนเกิดการจัดการ
กระบวนปฏิบัติการพยาบาล ตั้งแต่การเข้าถึงบริการ ระยะเวลาการบริการพยาบาล การติดตามเฝ้าระวังอาการ
ส าคัญทุกระบบอย่างต่อเนื่องตลอดกระบวนการดูแลผู้ป่วย เพอการสะท้อนผลการปฏิบัติงานที่เป็นวงจร
ื่
ั
ต่อเนื่องเพอให้เกิดการพฒนาการก าหนดรูปแบบและมอบหมายงานโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน ตั้งแต่การเข้าถึง
ื่
ห้องฉุกเฉินจนถึงระยะเวลาผู้บาดเจ็บออกจากห้องฉุกเฉิน โดยผู้วิจัยได้สร้างแนวทางการเฝ้าระวังรูปแบบใหม่
ขึ้น ส่งผลให้บุคลากรในทีมการพยาบาลรู้บทบาทหน้าที่ มองเห็นสมรรถนะของตนเองในทีมในการด าเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ท าให้เกิดความรวดเร็ว และความต่อเนื่องในการรักษา เกิดผลลัพธ์บรรลุตามเป้าหมาย
2. ผลการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิตรูปแบบใหม่
2.1 หลังน าแนวทางปฏิบัติรูปแบบใหม่ไปใช้ พบว่ามีการเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงอย่าง
ต่อเนื่องเพมมากขึ้น อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยมีการเฝ้าระวังรายด้านดังนี้ คือ ปริมาณการสูญเสียเลือด
ิ่
(Blood Loss/ Estimate Blood Loss), ชีพจร / นาที, ความดันโลหิต Systolic mmHg, Pulse Pressure
mmHg, การหายใจ /นาที, ผิวหนัง, Capillary Refill, ระดับสติ, ปัสสาวะ ml/นาที, ระดับความรุนแรง
ของการสูญเสียเลือด เพราะแนวทางปฏิบัติรูปแบบใหม่ สามารถน ามาใช้ได้ตามแผนการพยาบาลที่ก าหนด
มีความครอบคลุมประเด็นส าคัญของการให้บริการดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะคุกคามชีวิต อภิปรายได้ว่า
การวิเคราะห์และการบันทึกอย่างเป็นระบบ โดยใช้ความรู้ความเข้าใจในงานการดูแลผู้ป่วยอบัติเหตุฉุกเฉิน
ุ
ตามแนวทางของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย (RCST) ร่วมกับ American College of Surgeons
(ACS) ได้ด าเนินการวางแผนการรักษาผู้ป่วยให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน และเป็นมาตรฐานเดียวกันมากกว่า
50 ประเทศทั่วโลก ซึ่งหลักฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยตามหลักการของ Advanced Trauma Life Support
(ATLS) system นั้นมีการประชุมและ Update version ทุกๆ 4 ปี โดยในต้นปี 2017 ได้มีการออก 10
th
edition
2.2 ระยะเวลาการบริการที่ห้องฉุกเฉินกลุ่มที่ใช้แนวทางปฏิบัติเดิมกับกลุ่มที่ใช้แนวทางปฏิบัติ
รูปแบบใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาแรกรับถึงเวลาเริ่มมีการประเมินภาวะช็อค
ระยะเวลาเฉลี่ยที่แพทย์วินิจฉัยภาวะช็อค ระยะเวลาเฉลี่ยที่แพทย์ปรึกษาแพทย์เฉพาะทาง พบว่า มีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ในส่วนของระยะเวลาเฉลี่ยที่รายงานแพทย์ และระยะเวลาเฉลี่ยที่ผู้ป่วย
อยู่ภายในห้องฉุกเฉิน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยค่าเฉลี่ยของระยะเวลาเฉลี่ยที่รายงาน
แพทย์ 2.93 นาทีและ 1.56 นาที และค่าเฉลี่ยเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ภายในห้องฉุกเฉิน 91.66 นาที และ 74.06 นาที
พบว่าเวลาเฉลี่ยเร็วขึ้นกว่ากลุ่มที่ใช้แนวทางปฏิบัติเดิม ซึ่งสัมพนธ์กับการศึกษาพนอ เตชะอธิก, สุนทราพร
ั
วันสุพงศ์, และสุมนา สัมฤทธิ์รินทร์ พัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ ภาวะคุกคามชีวิต
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 85