Page 87 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 87
ึ
4) เก็บข้อมูลความพงพอใจของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลการเฝ้าระวังอาการ
ส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิตของผู้บาดเจ็บรูปแบบใหม่ เพื่อเปรียบเทียบความพงพอใจของพยาบาลก่อนใช้
ึ
แนวทางปฏิบัติและหลังใช้แนวทางปฏิบัติ โดยใช้ Paired t-test
ผลกำรศึกษำ
1. พัฒนำแนวปฏิบัติทำงกำรพยำบำลเฝ้ำระวังอำกำรส ำคัญที่น ำไปสู่ภำวะคุกคำมชีวิตของผู้บำดเจ็บรุนแรง
พัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ประกอบด้วย 2 ส่วน
1.1 Trauma Alert Criteria ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) การประเมิน Danger Zone Vital signs
2) การประเมิน Significant or specific injury
1.2 บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้บาดเจ็บระดับ1 และระดับ 2 ประกอบด้วย 2 ส่วน 1) การพยาบาล
เฉพาะรายเฉพาะโรค 2) แบบบันทึกทางการพยาบาลกึ่งส าเร็จรูป
ิ
ั
2. ผลของกำรใช้แนวปฏิบัติทำงกำรพยำบำลเฝ้ำระวงอำกำรส ำคัญที่น ำไปสู่ภำวะคุกคำมชีวตของ
ผู้บำดเจ็บรุนแรงกับผู้บำดเจ็บรุนแรงระดับ 1 และระดับ 2 ที่รับมำบริกำร ดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลทั่วไป และ ข้อมูลการบาดเจ็บ
ตำรำงที่ 1 จ านวนและร้อยละของผู้บาดเจ็บรุนแรงกลุ่มที่ใช้แนวทางปฏิบัติเดิมและกลุ่มที่ใช้แนวทาง
ปฏิบัติรูปแบบใหม่
ข้อมล ใช้แนวทำงปฏิบัติเดิม ใช้แนวทำงปฏิบัติรูปแบบใหม ่
ู
จ ำนวน ร้อยละ จ ำนวน ร้อยละ
เพศ
ชาย 22 73.3 25 83.3
หญิง 8 26.7 5 16.7
อำยุ
< 40 ปี 10 33.3 19 63.3
> 40 ปี 20 66.7 11 36.7
โรคประจ ำตัว
ไม่ม ี 22 73.3 21 86.7
มี 7 23.3 4 13.3
ประเภทผู้ป่วยLEVEL 1 10 33.3 9 30.0
ประเภทผู้ป่วยLEVEL 2 20 66.7 21 70.0
กลไกกำรบำดเจ็บ
การกระแทก (BLUNT INJURY) 27 90 27 90
ถูกของแหลม (PENETRATING 3 10 3 10
INJURY)
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 83