Page 86 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 86

วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
                              ื่
                         1. เพอพฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลเฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิต
                                 ั
                  ของผู้บาดเจ็บรุนแรง
                         2. เพอศึกษาผลการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิต
                              ื่
                  ของผู้บาดเจ็บรุนแรง

                  รูปแบบกำรศึกษำ

                                                ั
                          วิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยและพฒนา (Research and Development) ผู้วิจัยได้ทบทวนวรรณกรรม
                  และใช้แนวคิดในการดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะคุกคามชีวิต (Advance trauma life support) ทักษะในการ
                  ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีภาวะคุกคามชีวิต เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย เกิดแนวปฏิบัติทางการพยาบาลเฝ้าระวัง
                  อาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิตของผู้บาดเจ็บรุนแรง และผลการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาล
                  เฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคามชีวิตของผู้บาดเจ็บรุนแรง ดังนี้ อาการและการแสดง Classes of

                  hemorrhagic shock ของผู้บาดเจ็บ ระยะเวลาการรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน  และความพึงพอใจของบุคลากร

                  วิธีกำรศึกษำและกำรคัดเลือกกลุ่มตัวอย่ำง
                         ประชากร 1) ผู้บาดเจ็บรุนแรง ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ 2) พยาบาลหน่วยงาน
                  อุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์
                         กลุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้บาดเจ็บรุนแรงที่มีระดับการคัดแยกระดับ 1 และระดับ

                  2 ที่เข้ารับบริการโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive) จ านวน 60 คน
                  ค านวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ทฤษฎี Central Limited Theorem (Bartz, 1999) ก าหนดให้มีกลุ่มตัวอย่าง
                  กลุ่มละ 30 คน  2) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานที่หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน จ านวน 17 คน

                                              ิ
                                    ู
                  กำรเก็บรวบรวมข้อมลและกำรวเครำะห์ข้อมล การศึกษาครั้งนี้ด าเนินการในระหว่างเดือนกันยายน 2565 -
                                                         ู
                  เดือนกุมภาพันธ์ 2566  มีรายระเอียดดังนี้
                         1. คณะผู้วิจัยท าหนังสือขออนุมัติการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลจากคณะกรรมการ
                  จริยธรรมโรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์
                         2. เก็บข้อมูลน าร่อง ผู้บาดเจ็บจะได้รับการปฏิบัติการพยาบาลรูปแบบเดิม ซึ่งปฏิบัติเป็นปกติ

                              ุ
                  ในหน่วยงานอบัติเหตุและฉุกเฉิน เพอน าข้อมูลมาวิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นปัญหาในการปฏิบัติงาน
                                                 ื่
                  แล้วทบทวนวรรณกรรมเพอออกแบบแนวปฏิบัติทางการพยาบาลเฝ้าระวังอาการส าคัญที่น าไปสู่ภาวะคุกคาม
                                        ื่
                  ชีวิตของผู้บาดเจ็บรุนแรงรูปแบบใหม่
                         3. จัดท าแบบบันทึกการวิจัยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บาดเจ็บ ความรุนแรง กลไกการบาดเจ็บ ระยะเวลา

                  การรับบริการที่ห้องฉุกเฉิน รวมถึงการเฝ้าระวังระดับการเสียเลือดและอาการ (Classes of hemorrhagic
                  shock)
                         4. เก็บข้อมูลกลุ่มควบคุม (Control group) ผู้บาดเจ็บในกลุ่มนี้จะได้รับแนวทางปฏิบัติการพยาบาล

                  รูปแบบเดิมที่ปฏิบัติเป็นปกติในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
                          5. เก็บข้อมูลกลุ่มทดลอง (Experimental group) ผู้บาดเจ็บในกลุ่มนี้จะได้รับแนวปฏิบัติทางการ
                  พยาบาลรูปแบบใหม่ จากนั้นน าข้อมูลกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง มาวิเคราะห์ด้วยสถิติ ดังนี้ 1) ข้อมูลส่วน
                  บุคคล และข้อมูลการบาดเจ็บและความรุนแรงของผู้บาดเจ็บ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (จ านวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
                  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของการเฝ้าระวังอาการและอาการแสดง Class of

                  hemorrhagic shock ระหว่างกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติเดิมกับกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติใหม่ โดยใช้ Chi-square test
                  3) เปรียบเทียบความแตกต่างของระยะเวลาขั้นตอนการบริการที่ห้องฉุกเฉิน ระหว่างกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติเดิม
                  กับกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติใหม่ โดยใช้ Independent t-test





                      ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023                       82
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91