Page 12 - ผลงานวิชาการระบบส่งต่อ 2567
P. 12
โครงการประชุมสัมมนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย ปีงบประมาณ 2567
วิธีการศึกษา
ศึกษาสภาพปัญหาการส่งต่อและจัดทำแนวทางการส่งต่อทารกแรกเกิดที่มีคุณภาพ จังหวัดชลบุรี
แนวทางการส่งต่อทารกแรกเกิดที่มีคุณภาพ จังหวัดชลบุรี
1. จัดตั้งแนวทางการส่งต่อมารดากลุ่มเสี่ยงและทารกเกิดก่อนกำหนดที่อายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์
โดยประสานการทำงานร่วมกับสูติแพทย์เพื่อให้เกิดการส่งตัวแบบ intrauterine transfer และมีการส่งต่อ
ข้อมูลไปยังทีมกุมารแพทย์รับเด็ก กุมารแพทย์และพยาบาล NICU เพื่อเตรียมรับเคส
2. จัดระบบ Fast tract therapeutic hypothermia system เพื่อรองรับผู้ป่วยภายในจังหวัดชลบุรี
และภายในเขตสุขภาพที่ 6 โดยเป็นการติดต่อประสานงานระหว่างกุมารแพทย์ และแพทย์จากโรงพยาบาล
ต้นทางที่ต้องการส่งต่อเคส และทำการส่งต่อข้อมูลไปยังพยาบาล NICU เพื่อเตรียมรับเคส
3. แนวทางการรับส่งต่อทารกแรกเกิดที่มีภาวะความดันเลือดในปอดสูง เพื่อพิจารณาให้การรักษา
ด้วยไนตริกออกไซด์
4. พัฒนาระบบให้คำปรึกษา การส่งต่อ fast tract และส่งกลับเมื่อพ้นวิกฤต เพื่อลดความแออัดใน
โรงพยาบาลศูนย์
5. เพิ่มจำนวนเตียงใน NICU จาก 8 เตียง เป็น 18 เตียง ตั้งแต่ปี 2562 จนถึงปัจจุบัน เพื่อรองรับ
ผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตทั้งจากในจังหวัดชลบุรี และเขตสุขภาพที่ 6
6. จัดตั้งศูนย์สำรองเตียงสำหรับรองรับผู้ป่วยในเขตบริการสุขภาพที่ 6 จำนวน 15 เตียง โดยทำ MOU
กับโรงพยาบาลภาคเอกชนจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ สุขุมวิท จำนวน 7 เตียง จุฬารัตน์ 3 จำนวน 6 เตียง
และ กรุงเทพพัทยา จำนวน 2 เตียง โดยได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการส่งต่อ Fast tract
มารดากลุ่มเสี่ยง Fast tract พัฒนาระบบ MOU
หรือมีความเสี่ยง therapeutic PPHN ให้ค าปรึกษา ภาคเอกชน
คลอดก่อนก าหนด hypothermia
ผลการศึกษา
อัตราตายทารกแรกเกิดก่อนและหลังการพัฒนา
ก่อนการพัฒนา หลังการพัฒนา
KPI
2561 2562 2563 2564 2565 2566
อัตราตายทารกแรกเกิด : 4.82 5.05 5.11 4.24 3.89 3.65
1,000 การเกิดมีชีพ
8
โครงการประชุมสัมมนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย ปีงบประมาณ 2567