Page 298 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 298

H5


                  วิธีการศึกษา

                         ลักษณะสำคัญของวิธีหรือแนวทางปฏิบัติ
                         1. การทำงานในระดับจังหวัด สำนักงานขอนแก่นจัดตั้ง ทีมพี่เลี้ยง เป็นศูนย์การเรียนรู้ training & treatment
                  และเพิ่มcompetency ให้ทันตแพทย์และผู้ช่วย ในลักษณะพี่สอนน้อง simple technique กลยุทธ์

                  สร้างเครือข่ายลักษณะดาวกระจายในพื้นที่ ตั้งรับที่center และเชิงรุกในพื้นที่ (ตามผังการทำงาน
                  สร้างเครือข่าย)
                                                   ผังการทำงานสร้างเครือข่าย

                                                           -training & tx. ทุกวัน พฤหัสบดี
                                                           -แหล่งทรัพยากร งบประมาณ  ทันตแพทย์ ผช. วัสดุอุปกรณ์ set surgery

                                                           คลังรากเทียม
                                                           -ศูนย์ข้อมูลติดตามpt. , monitor การท างาน

                                                           -ระบบ consult ทางLine กลุ่ม

                                                        CENTER


                                                        ทีมพี่เลี้ยง


                       โซนตะวันตก : หัวหน้าทีมรพ.ภูเวียง , รพ. บ้านฝาง        รพ.เครือข่าย

                       โซนตะวันออก : หัวหน้าทีมรพ.น ้าพอง                     รพ.เครือข่าย
                       โซนใต้ : หัวหน้าทีมรพ.ชนบท                             รพ.เครือข่าย


                         การดำเนินการ
                         ในระยะแรก ตั้งรับจัดตั้งทีมดูแลโรงพยาบาลเครือข่ายในแต่ละโซน จ.ขอนแก่นแบ่งเป็น 3 โซน

                  โซนตะวันตก โซนตะวันออก และโซนใต้ ทีมที่สมัครเข้าร่วมโครงการเป็นเครือข่ายทั้ง 9 ทีม เข้าเรียนรู้และ
                  ฝึกปฏิบัติที่ center เพื่อให้สามารถกลับไปทำเองได้ที่โรงพยาบาลในพื้นที่เชิงรุก ทีมพี่เลี้ยงสัญจร ลงไปยัง
                  โรงพยาบาลพื้นที่ช่วยค้นหาเป้าหมายและ training & treatment  ระยะที่ 2 (ปี พ.ศ. 2567) ขยาย
                  โรงพยาบาลเครือข่าย โรงพยาบาลในพื้นที่ โดยใช้กลยุทธ์เดิม
                         2. การค้นหากลุ่มเป้าหมาย ค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในชุมชน การสื่อสารกับผู้ป่วยใช้ model ประกอบ และ

                  ภาษาที่เข้าใจง่ายใน

                  ผลการศึกษา

                         1. จำนวนผู้ป่วยที่ได้ทำการฝังรากฟันเทียมในปี 2566 จำนวน180 ราย และเป้าหมายในปี 2567
                  กำลังดำเนินการ
                         2. ขยายเครือข่าย โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและมีการฝังรากฟันเทียมให้กับผู้ป่วยในพื้นที่ ในปี 2566
                  มีโรงพยาบาลที่สมัครเข้าร่วมเป็นหน่วยบริการย่อย 9 แห่ง และปี 2567 เพิ่มขึ้นอีก 8 แห่ง รวมเครือข่ายบริการ

                  ในพื้นที่ 17 แห่ง
                         3. ความพึงพอใจของผู้ป่วยภายหลังการเข้าร่วมโครงการคิดเป็นร้อยละ 92.72
   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303