Page 321 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 321
I5
ผลการศึกษา
KPI ย่อย ออกแบบระบบ
1.ระยะเวลาโดยเวลาตั้งแต่ป่วยจนได้ยา antibiotic ไม่เกิน - Hotline แจ้ง PD nurse ตลอด24 ชั่วโมง จะได้รับ
48 ชั่วโมง ร้อยละ 100 การประสานให้เข้ารับการตรวจรักษา
2. เก็บสิ่งส่งตรวจถูกต้อง ร้อยละ 100 - จัดทำแนวทางเก็บน้ำยาส่งตรวจของโรงพยาบาล
3. ได้ antibiotic ก่อนเพาะเชื้อไม่เกินร้อยละ 10 -แจ้งแนวทางให้โรงพยาบาลทุกแห่งในลพบุรีไม่ให้
4.เพิ่มอัตรา culture ไม่ขึ้นเชื้อแบคทีเรียร้อยละ 85 (สถิติ antibiotic ก่อนเพาะเชื้อ
ของโรงพยาบาลในปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 76) - ปรับปรุงมาตรฐานการเก็บสิ่งส่งตรวจที่ ER, ผู้ป่วย
ในและสร้าง flow chart การทำงานใหม่
- สร้างแนวปฏิบัติกรณี culture ไม่ขึ้นเชื้อแบคทีเรีย
ส่งตรวจ PCR for TB, culture fungus ทุกราย
4.ถอดสายภายใน 7 วันหลังการรักษาไม่เป็นผลร้อยละ 80 - ปรับปรุงมาตรฐานการดูแลของแพทย์
KPI (ตัวเลขในวงเล็บแสดงเป้าหมาย) ผลลัพธ์(ร้อยละ)
1.เก็บสิ่งส่งตรวจถูกต้อง (ร้อยละ 100) 100
2.ระยะเวลาโดยเวลาตั้งแต่ป่วยจนได้ยา antibiotic ไม่เกิน 48 ชั่วโมง 84
(ร้อยละ 100)
3.ได้ antibiotic ก่อนเพาะเชื้อไม่เกินร้อยละ 10 10
4.อัตราการเพาะเชื้อขึ้น (ร้อยละ 85) แสดงผลระหว่างเดือนมกราคมถึง เพิ่มจากร้อยละ 76
กันยายน 2566 ในปี 2565 เป็นร้อยละ 85
5.ถอดสายภายใน 7 วันหลังรักษาไม่เป็นผล (ร้อยละ 80) แสดงผล เพิ่มจากร้อยละ 40
ระหว่างเดือนมกราคมถึงกันยายน 2566 ในปี 2565 เป็นร้อยละ 71
อัตราเสียชีวิตหลังการติดเชื้อจากการล้างไตทางช่องท้อง
ปี 2564 2565 2566
อัตราเสียชีวิตหลังการติดเชื้อ(ร้อยละ) 15 4 5
อภิปรายผลการวิจัย
การติดเชื้อจากการล้างไตหน้าท้องนับเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลให้ผู้ป่วยต้องยุติการล้างไตทางหน้าท้อง
หากมีการควบคุมกระบวนการได้ดีจะทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้มีโอกาสรอดชีพหรือคงการรักษาได้ต่อไป โดยทั่วไป
เชื้อโรคก่อโรค 45-65% เป็นแกรมบวกและ15-35% เป็นแกรมลบ แต่ในประเทศไทยมีปัญหาแตกต่างไปจากนี้
ตรงที่ 1. ส่วนใหญ่ติดเชื้อแกรมลบและ 2. มีสถิติ culture ไม่ขึ้นเชื้อแบคทีเรียที่มากกว่ารายงาน
จากต่างประเทศ ตัวเลขอยู่ที่ 20-35% (เพาะเชื้อขึ้นร้อยละ 65-80)ขณะที่มาตรฐานของ ISPD ไม่ควรพบเกินกว่า 15%
(ควรเพาะเชื้อขึ้นเกินกว่าร้อยละ 85)เชื่อว่าเกิดจากปัญหาการเก็บสิ่งส่งตรวจและการได้รับยาปฏิชีวนะนำมา
ก่อน KPI ที่กำหนดขึ้นใหม่มาประเมินผลการแก้ไขปัญหา culture ไม่ขึ้นเชื้อแบคทีเรียและพบว่าเมื่อผ่านเกณฑ์ย่อยนี้
สามารถเพิ่มอัตราเพาะเชื้อขึ้นร้อยละ 85 ได้สำเร็จ