Page 460 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 460

L37

                  ผลการศึกษา
                         ส่วนที่ 1 ผลการศึกษาจำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มทดลองส่วนใหญ่

                  เป็นเพศหญิงจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.70 มีอายุ อยู่ในช่วง 31 - 40 ปีจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ
                  36.70 มีสถานภาพสมรสจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ
                  46.70 กลุ่มควบคุม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน  23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.70 มีอายุอยู่ในช่วง 31 - 40 ปี
                  จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 มีสถานภาพสมรสจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 76.70 มีอาชีพ

                  เกษตรกรรมจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00
                         ส่วนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของระดับความรู้สึกปวด (VAS) และคะแนน
                  แบบประเมินอาการปวดหลัง (Modified Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) ระหว่าง
                  ก่อนและหลังการใช้แผ่นแปะสมุนไพรของกลุ่มควบคุมก่อนและหลังการติดตาม (n=30)


                                                   ก่อนการใช้แผ่นแปะ    หลังการการใช้แผ่นแปะ
                                                       สมุนไพร               สมุนไพร
                            กลุ่มตัวอย่าง                                                   T     P-value
                                                 ค่าเฉลี่ย   ส่วนเบี่ยงเบน   ค่าเฉลี่ย   ส่วนเบี่ยงเบน
                                                          มาตรฐาน(S.D.)         มาตรฐาน(S.D.)
                  กลุ่มทดลองแบบวัดความรู้สึกปวด(VAS)  5.13   0.68    2.23      0.67        18.80  0.000*
                    คะแนนแบบประเมินอาการปวดหลัง   24.37   4.42       12.60     1.99        13.16  0.000*

                  *P-value < 0.05

                         ส่วนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของระดับความรู้สึกปวด (VAS) คะแนนแบบประเมินอาการปวด
                  หลัง (Modified Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) หลังการใช้แผ่นแปะสมุนไพร และ
                  หลังการติดตามอาการระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (n=30)


                                               ก่อนติดตาม            หลังการติดตาม
                  กลุ่มตัวอย่าง                ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบน   ค่าเฉลี่ย   ส่วนเบี่ยงเบน    T   P-value
                                                      มาตรฐาน(S.D.)            มาตรฐาน(S.D.)

                  กลุ่มควบคุมแบบวัดความรู้สึกปวด (VAS)      4.87     0.90   3.23   0.67    8.95   0.000*
                  คะแนนแบบประเมินอาการปวดหลัง   24.17    4.57        16.47     4.23        8.06   0.000*
                  *P-value < 0.05

                         ส่วนที่ 4 ผลการเปรียบเทียบ ระดับความรู้สึกปวด (VAS) คะแนนแบบประเมินอาการปวดหลัง
                  (Modified Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) หลังการใช้แผ่นแปะสมุนไพรและหลัง

                  การติดตามอาการระหว่างกลุ่มทดลอง(n=30) และกลุ่มควบคุม (=30)
                                            กลุ่มทดลอง             กลุ่มควบคุม

                                            ค่าเฉลี่ย   ส่วนเบี่ยงเบน  ค่าเฉลี่ย   ส่วนเบี่ยงเบน  T   P-value
                                                       มาตรฐาน(S.D.)          มาตรฐาน(S.D.)
                   แบบวัดความรู้สึกปวด(VAS)   2.33     0.67        3.23       0.67        5.70   0.000*

                   คะแนนแบบประเมินอาการปวดหลัง   12.60   1.99      16.47      2.51        6.59   0.000*

                  *P-value < 0.05
   455   456   457   458   459   460   461   462   463   464   465