Page 507 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 507
N15
ผลการศึกษา
ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 1
- ผลการดำเนินงานการจัดการเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ (AMR) จากโปรแกรม AMASS ปีปฏิทิน 2565
(Baseline)
- ผลของอุบัติการณ์ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ CRAB CRKP CREC ในกระแสเลือด ต่อผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ H/C
100,000 ราย ปีปฏิทิน 2565 พบว่า ต่ำกว่าอุบัติการณ์เฉลี่ยของโรงพยาบาลในระดับเดียวกัน
- ผลการดำเนินงานการจัดการเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ (AMR) จากโปรแกรม AMASS ปีปฏิทิน 2566
ผู้ป่วยติดเชื้อและเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยา A. baumannii เพิ่มขึ้นมากกว่าปีปฏิทิน 2565
ผู้ป่วยติดเชื้อ P. aeruginosa และ S. aureus เพิ่มขึ้นมากกว่าปีปฏิทิน 2565
- ผลของอุบัติการณ์ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ CRAB CRKP CREC ในกระแสเลือด ต่อผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจ H/C
100,000 ราย ปีปฏิทิน 2566 พบว่า สูงกว่าอุบัติการณ์เฉลี่ยของโรงพยาบาลในระดับเดียวกัน
- ผลการประเมิน DUE ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 พบว่า Indication และ
Duration มีความเหมาะสมเพิ่มขึ้น แต่ Dose มีความเหมาะสมลดลงและต่ำกว่าร้อยละ 80
- ผลจาก De-escalate Form พบว่า สามารถ de-escalate ยาได้ 20.3%
อภิปรายผล
ปัญหาที่พบในระยะที่ 2 มีดังนี้
- A. baumannii เพิ่มขึ้น ในหอผู้ป่วยหนักอายุกรรมเกิดจากการล้างมือไม่ถูกต้อง การหย่าเครื่องช่วย
หายใจช้า
- แพทย์และพยาบาลยังสับสนเรื่องขั้นตอนการทำ De-escalate Form และยังไม่มั่นใจในการ
De-escalate ยา
- ผลการประเมิน DUE ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 พบว่า Dose มี
ความเหมาะสมลดลง เพราะแพทย์ไม่ได้ปรับขนาดยา เมื่อเกิด AKI และใช้ eGFR คำนวณขนาดยาแทน CrCl
สรุปและข้อเสนอแนะ
จึงเกิดเป็น กิจกรรมการพัฒนา ระยะที่ 2 ดังนี้