Page 522 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 522

N30
                  สรุปและข้อเสนอแนะ: จากการศึกษาพบว่าหลังจากที่เภสัชกรและทีมบุคลากรทางการแพทย์ ได้มีการแนะนำ
                  ให้ความรู้-คำปรึกษาทำความเข้าใจกับผู้ป่วย-ญาติต่อการปฏิบัติตัว ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง

                  สามารถควบคุมโรคได้ดีขึ้น ไม่ใช้ยาที่มีผลต่อการทำงานของไต เช่น NSAIDs โดยพร่ำเพรื่อ หรือเลือกชนิดยาได้
                  อย่างเหมาะสมหากจำเป็นในกลุ่มเฝ้าระวัง(GFR<60)  หรืองดในกลุ่มห้ามใช้ (GFR<30) ผู้ป่วย-ญาติทราบให้
                  สามารถเฝ้าระวัง-จัดการ อาการไม่พึงประสงค์ได้ด้วยตนเอง เมื่อพบปัญหา  สามารถลดความรุนหรืออันตราย
                  จากอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา รวมถึงสร้างความเชื่อมั่น เชื่อถือ และให้ความร่วมมือในการใช้ยาในการ

                  รักษา เป็นผลให้สามารถชะลอไตเสื่อมจากการควบคุมสภาวะโรค ได้ประสบความสำเร็จมากขึ้น ซึ่งการ
                  ดำเนินงานเช่นนี้ ควรนำไปเผยแพร่และขยายพื้นที่ดำเนินงานให้ครอบคลุมมากขึ้น ทั้งภาพอำเภอเมืองจังหวัด
                  ยโสธร ในรูปแบบเครือข่ายสหสาขาวิชาชีพในสถานพยาบาลปฐมภูมิร่วมกันกับเภสัชกร ต่อไป
   517   518   519   520   521   522   523   524   525   526   527