Page 645 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 645

Q31

                             2.3 มีระบบ fast track ผู้ป่วย Severe Sepsis เข้ารักษาใน ICU ได้ทันทีภายใน 3 ชั่วโมงและมี

                   แนวทางประสาน consult การรักษากับอายุรแพทย์ในการย้ายผู้ป่วยดูแลที่ ICU

                             2.4 ปรับปรุงระบบการรายงานผลตรวจเพาะเชื้อเบื้องต้นโดยเป็นระบบ sepsis lab alert รายงานผล
                  ที่รวดเร็วขึ้น เพิ่มระบบการตรวจวินิจฉัยในการส่งLab Lactate  ให้วินิจฉัยโรคได้รวดเร็วและแม่นยำมากยิ่งขึ้น

                            2.5 เพิ่มกระบวนการประเมินความเพียงพอของสารน้ำที่ผู้ป่วยต้องได้รับในแต่ละราย โดยการตรวจ

                   Ultrasound IVC เพื่อการรักษาที่เหมาะสมและลดภาวะแทรกซ้อน
                            2.6 พัฒนาทักษะบุคลากรในการดูแลผู้ป่วย Sepsis อบรบภายนอกและภายในโรงพยาบาลจัดอบรม

                   มีระบบ Training ทั้งบุคลากรใหม่และบุคลากรที่มีส่วนขาดควบคุม ติดตาม และประเมิน Competency
                   โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยทุกๆ 6 เดือน มีการทำ Quick nursing rounds ในการดูแลผู้ป่วย Sepsis  ขณะรับเวร

                   เช้าทุกวัน มีการทำ Nursing round ในผู้ป่วย Sepsis  ทุกรายที่เข้ารับการรักษาในICU

                            2.7 ทบทวนกรณีศึกษาการดูแลผู้ป่วย Sepsis/ Septic shock ร่วมทบทวน Death case กับ
                  ทีมสหวิชาชีพ ทีม PCT  ทีม RM  ทีม NUR ทุกรายมีการตามรอยโรคโดย Nurse case manager sepsis

                  ทุก 3 เดือน สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และประเมินผลการใช้แนวทางดูแลผู้ป่วย ทุก 6 เดือน

                         3.ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) โรงพยาบาลโกสุมพิสัย
                 เรื่อง/ตัวชี้วัด/กิจกรรมดำเนินการ                              เป้าหมาย  2565  2566  2567

                 อัตราการได้รับ Antibiotic ภายใน 1 ชั่วโมง (นับจากเวลาได้รับการ 100%      100  100  100

                 วินิจฉัย)
                 อัตราการเจาะ Hemoculture    ก่อนให้ Antibiotic                 100%      100  100  100

                 อัตราการได้รับ IV 30 ml/kg ) ใน 1 ชั่วโมงแรก  (ในกรณีไม่มีข้อห้าม)   100%   100  100  100

                 อัตราการทบทวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตและผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อ   100%      100  100  100
                 เจ้าหน้าที่สามารถใช้เครื่องมือประเมินผู้ป่วย Sepsis (S-new Score)ได้ 100%   95   95    100

                 อย่างถูกต้อง

                 ผู้ป่วยพ้น Shock ใน 24 ชม.                                     ≥ 80 %  85       90     90
                 อัตราตายในผู้ป่วย Sepsis ลดลง                                  ≥ 0 %     5      1.8    1.8


                  อภิปรายผล
                            อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด หลังจากการพัฒนา ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัย

                  ได้รวดเร็ว ให้การรักษาทันเวลา ทำให้อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย Sepsis มีแนวโน้มลดลงในปี 2567 และจาก

                  การทบทวนพบว่าสาเหตุการตายของผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวมากกว่า 2 โรค ญาติปฏิเสธ
                  การส่งต่อต้องการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและต้องการเสียชีวิตที่ รพ. อัตราความเพียงพอของการให้

                  สารน้ำ ในปี 2564 และ ปี 2567 อัตราการให้ IV ในผู้ป่วยไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยบางรายมี

                  ข้อจำกัดรวมถึงโรคประจำตัวที่ต้องเฝ้าระวังในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เช่น CKD , IHD , CHF ทำให้ไม่
                  สามารถได้ตามแนวทาง จึงได้มีการเพิ่มการ U/S IVC เพื่อประเมินความเพียงพอในการให้สารน้ำทางหลอด

                  เลือดดำ และจากการศีกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ยังขาดความแม่นยำในการใช้เครื่องมือประเมินผู้ป่วย Sepsis
   640   641   642   643   644   645   646   647   648   649   650