Page 72 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 72

B2


                          ไม่มีการบันทึกที่ชัดเจน                            สามารถตรวจสอบผู้ที่เคยได้รับการตรวจ
                         กลุ่มผู้ที่ดีรับการคัดกรองไม่                      คัดกรองแล้วได้ชัดเจน รวมถึงสามารถตรวจ
                          ครอบคลุมผู้ที่มีปัญหา                              ญาติสายตรงที่มีความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งได้

                                                ทำการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยที่ทำ
                                    การตรวจเม็ดเลือดแฝงในอุจจาระแล้วพบผลบวก ใน google form
                                                                              สามารถลงข้อมูลได้อย่างง่ายผ่านระบบ
                       ส่งเป็นกระดาษหรือเอกสารที่ไม่                        อินเตอร์เน็ต ตรวจสอบข้อมูลได้เป็นปัจจุบัน
                      เหมือนกัน มีโอกาสข้อมูลสูญหาย
                                                                                มีข้อมูลเบื้องต้นเพื่อจัดการผู้ป่วย
                                                ติดตามวันนัดเตรียมลำไส้และ
                   นัดส่องกล้อง ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อติดตามผู้ป่วยเข้ารับการ  มอบหมายให้รพ.ชุมชน ตรวจสอบข้อมูล
                                           ตรวจ                              ผู้ป่วยที่ลงทะเบียน แจ้งวันนัดหมายผู้ป่วย

                      แจ้งโดยโทรศัพท์โดยตรงผ่านศูนย์ส่อง                      ลดภาระงานและติดต่อผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้น
                      กล้อง เพิ่มภาระงาน ติดต่อผู้ป่วยไม่
                      ส าเร็จ ผู้ป่วยต้องติดต่อเองหลายครั้ง

                                                  ให้ผู้ป่วยเข้าพบโรงพยาบาลชุมชน เพื่อตรวจเลือดและเอกซเรย์ แนะนำ

                                                   การเตรียมลำไส้ก่อนส่องกล้อง
                   (ชมวิดีทัศน์ที่จัดเตรียมไว้ให้แนะนำผู้ป่วยก่อนส่องกล้องและรับยาเตรียมลำไส้ที่ทำการกระจายยาผ่านระบบ
                                       เภสัชกรรมของจังหวัดตามรายชื่อผู้ป่วยที่ได้รับการนัดหมาย)

                      ผู้ป่วยต้องเดินทางไปรพ.ชุมชนและ                        ผู้ป่วยสามารถไปรพ.ชุมชนใกล้บ้านเตรียมพร้อมการ
                      ศูนย์กล้อง มีค่าใช้จ่ายการเดินสูง                      ส่องกล้อง รับชมวิดีทัศน์และเอกสารเพื่อให้เตรียมได้
                       ใช้เวลามากในขั้นตอนทั้งหมด                              อย่างเหมาะสม ลดความกังวลและค่าใช้จ่าย
                                                 ผู้ป่วยเข้ารับการส่องกล้องที่
                                      โรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลสมทบที่ให้บริการส่องกล้อง

                          ผู้ป่วยขาดนัดหมาย                                      ผู้ป่วยให้ความร่วมมือที่ดียิ่งขึ้น

                           เนื่องจากค่าใช้จ่าย                                 เข้าใจการส่องกล้องล าไส้ ไม่กังวล
                       และความกลัวเพราะขาดความ                                     สะดวกในการใช้บริการ
                               เข้าใจ           แจ้งผลการตรวจส่องกล้องและ
                                              ผลชิ้นเนื้อลำไส้ใหญ่ทางระบบติดตามผู้ป่วย
                          (มอบหมายให้โรงพยาบาลชุมชนแจ้งผลตรวจและวันนัดติดตามคัดกรองมะเร็งลำไส้อีกครั้ง)

                     ผู้ป่วยต้องเดินทางมาศูนย์ส่องกล้อง                     มีระบบรายงานผล วันติดตาม สามารถให้รพ.ชุมชน
                      หรือไม่ทราบผลตรวจชัดเจน รวมถึง                           ทราบถึงข้อมูลผู้ป่วยและแจ้งผู้ป่วยได้ชัดเจน
                     เวลาในการติดตามการส่องกล้องซ ้า      Bit.ly/fitcrweb     สามารถทราบผลข้อมูลการคัดกรองของจังหวัด


                  ผลการศึกษา
                         ระบบเครือข่ายการคัดกรองและติดตามโรคมะเร็งลำไส้จังหวัดเชียงรายได้เริ่มทำการตรวจคัดกรอง
                  ตั้งแต่ เมษายน พ.ศ. 2565 ได้ตรวจพบผลบวกของเม็ดเลือดในอุจจาระทั้งสิ้น 5,954 ราย ได้รับการตรวจคัด
                  กรองมะเร็งด้วยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่แล้ว 3,908 ราย(ร้อยละ 66) ตรวจพบติ่งเนื้องอกลำไส้ทั้งหมด 1,827

                  ราย(ร้อยละ 47)และพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ 106 ราย(ร้อยละ 1.8) แบ่งเป็นมะเร็งระยะเริ่มต้น 91 รายมะเร็งระยะ
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77