Page 148 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 148

C23









                  รูปภาพที่3 : การปรับปรุงครั้งที่ 1โดยการนำบันได         รูปภาพที่4 : การปรับปรุงครั้งที่ 2 สร้างตะแกง
                  สำหรับ

                  เชื่อมต่อเหล็กในลักษณะคล้ายวอคเกอร์                      ทำแผล เพิ่มถาดรองด้านล่างของบันไดเพื่อไว้ใช้สอย
                  เพื่อให้ผู้ป่วยใช้เป็นราวจับสองข้างขณะก้าวขึ้นบันได        และทำตะขอด้านหลังสำหรับคล้องกับเตียง ป้องกัน
                                                                                 ป้องกันการพลิกตะแคงขณะขึ้นลง







                                   รูปภาพที่5 : การปรับปรุงครั้งที่ 3 สร้างช่องสำหรับใส่ตะแกงล้างแผล

                  ผลการศึกษา
                        1. ผลประเมินความพึงพอใจสำหรับผู้ป่วยที่มารับบริการนวัตกรรมบันไดทูอินวัน เพื่อความสะดวกต่อ
                  การใช้งานด้านบันได เฉลี่ยร้อยละ 86.27 โดยความพึงพอใจสูงสุดคือความประทับใจต่อการใช้งานสูงสุด (ร้อยละ
                  92.67) ต่ำสุดคือรูปแบบของนวัตกรรมด้านบันไดมีความสวยงาม (ร้อยละ 80)

                        2. ผลประเมินความพึงพอใจสำหรับสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉินให้บริการนวัตกรรมบันได
                  ทูอินวัน เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน ด้านบันไดเฉลี่ยร้อยละ 87.87 โดยความพึงพอใจสูงสุดคือวัสดุที่ใช้มี
                  ความแข็งแรง ทนทาน ต่อการใช้งาน (ร้อยละ 98.67) ต่ำสุดคือรูปแบบของนวัตกรรมด้านบันไดมีความสวยงาม

                  (ร้อยละ 78)
                        3. ผลประเมินความพึงพอใจสำหรับผู้ป่วยที่มารับบริการนวัตกรรมบันไดทูอินวัน เพื่อความสะดวกต่อ
                  การใช้งานด้านหัตการล้างแผลเฉลี่ยร้อยละ 93.33 โดยความพึงพอใจสูงสุดคือลดการใช้พื้นที่สำหรับการทำหัต
                  การล้างแผลและช่วยลดระยะเวลาในการรอคอยเตียงทำแผลได้ (ร้อยละ 100) ต่ำสุดคือรูปแบบของนวัตกรรม
                  ด้านทำหัตการล้างแผลมีความสวยงาม (ร้อยละ 81.33)

                        4. ผลประเมินความพึงพอใจสำหรับสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉินให้บริการนวัตกรรมบันได
                  ทูอินวัน เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน ด้านหัตการล้างแผลเฉลี่ยร้อยละ 88.93 โดยความพึงพอใจสูงสุด คือลด
                  การใช้พื้นที่สำหรับการทำหัตการล้างแผล (ร้อยละ 98) ต่ำสุดคือรูปแบบของนวัตกรรมด้านทำหัตการล้างแผล

                  มีความสวยงาม (ร้อยละ76)
                        5. ระยะเวลารอคอยทำแผลเฉลี่ยในผู้ป่วยที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉินปี 2566 และ 2567 เฉลี่ยรายละ
                  40.18  และ 31.50 นาที ตามลำดับ
                        6. ไม่พบอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้ม เสียการทรงตัวขณะขึ้นเตียงในผู้ป่วยห้องฉุกเฉินในปี 2567
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153