Page 145 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 145

C20


                                2.2 กระบวนการตรวจสอบข้อมูล เพิ่มข้อมูลที่จำเป็นในใบส่งข้อมูล

                                2.3 กระบวนการประเมินผู้ป่วย พบปัญหา เพิ่มการประเมินร่วมกับแพทย์แผนกฉุกเฉินก่อนส่งกลับ
                                2.4 กระบวนการรับส่งต่อผู้ป่วย เพิ่มการประเมินสัญญาณชีพและเอกสารก่อนขึ้นรถนำส่ง
                  และผลการนำแนวทางที่พัฒนาขึ้นไปใช้ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity index  CVI.) เท่ากับ  1.00

                         3. แบบเก็บข้อมูลกลับมารักษาต่อ (Refer back) ที่สร้างขึ้นจากกรอบแนวคิดเรื่อง การรับผู้ป่วย
                  ส่งกลับ (Refer back) ตามแนวทางการพัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วย (กระทรวงสาธารณสุข) มีค่าความตรงเชิง
                  เนื้อหา (Content validity index  CVI.) เท่ากับ  1.00 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล  Descriptive statistics
                  ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)

                  ผลการศึกษา

                     ตาราง 1 เปรียบเทียบอุบัติการณ์การใส่ท่อช่วยหายใจภายใน48ชั่วโมงหลังรับผู้ป่วยกลับมารักษาต่อ
                                            (Refer back)  ปีงบประมาณ 2564 – 2566

                                                                     ตัวชี้วัด          ปีงบประมาณ
                                                                                  2564     2565      2566

                  ไม่พบอุบัติการณ์การใส่ท่อช่วยหายใจภายใน 48 ชั่วโมง  80%       99.46%  100%         100%
                  หลังรับผู้ป่วยกลับมารักษาต่อ (Refer back)
                  จากตารางที่ 1 พบว่า เปรียบเทียบอุบัติการณ์การใส่ท่อช่วยหายใจภายใน 48 ชั่วโมงหลังรับผู้ป่วยกลับมารักษา
                  ต่อ (Refer back) เกณฑ์ที่ร้อยละ 80 หลังนำกระบวนการฯ ที่พัฒนาขึ้นมาใช้พบว่า ไม่พบอุบัติการณ์ คิดเป็น

                  ร้อยละ 99.46, 100 และ 100 ในปีงบประมาณ 2564 - 2566 ตามลำดับและผ่านเกณฑ์
                      ตาราง 2 เปรียบเทียบอุบัติการณ์ที่ต้องได้รับการส่งต่อภายใน 48ชั่วโมง ปีงบประมาณ2564-2566

                                                                     ตัวชี้วัด          ปีงบประมาณ
                                                                                  2564     2565      2566

                  ไม่พบอุบัติการณ์ที่ต้องได้รับการส่งต่อภายใน 48 ชั่วโมง     95%   99.46%  100%      100%

                  จากตารางที่ 2 พบว่า เปรียบเทียบอุบัติการณ์ที่ต้องได้รับการส่งต่อภายใน 48 ชั่วโมงหลังรับผู้ป่วยกลับมารักษา

                  ต่อ (Refer back) จากตัวชี้วัดการไม่เกิดอุบัติการณ์ เกณฑ์ที่ร้อยละ 95 หลังนำกระบวนการ
                  รับผู้ป่วยกลับมารักษาต่อ (Refer back) ที่พัฒนาขึ้นมาใช้พบว่า ผู้ป่วยที่กลับมารักษาต่อ (Refer back) ไม่พบ
                  อุบัติการณ์ คิดเป็นร้อยละ 99.46, 100 และ 100 ในปีงบประมาณ 2564 - 2566 ตามลำดับและผ่านเกณฑ์
                  ที่ร้อยละ 80 ความพึงพอใจและความเป็นไปได้ในการนำกระบวนการรับผู้ป่วยกลับมารักษาต่อ (Refer back)
                  ที่พัฒนาขึ้นไปใช้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจโปรแกรมนี้มีประโยชน์และความเป็นไปได้ในการนำ

                  โปรแกรมไปใช้ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.85, 0.69 ( X,SD.) แยกรายด้าน ความพึงพอใจต่อรูปแบบการ
                  จัดกิจกรรมโครงการ อยู่ระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.85, 0.69 ( X,SD.) ความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมโครงการ
                  อยู่ระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 3.77, 0.60 ( X,SD.) ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม อยู่ระดับมากมาก

                  มีค่าเฉลี่ย 4.31, 0.48 ( X,SD.) และด้านภาพรวมความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ระดับมากมาก
                  มีค่าเฉลี่ย 4.00, 5.78 ( X,SD.)
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150